Page 463 - รวมกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
P. 463

หนา   ๑๔๙
                          เลม   ๑๒๓   ตอนที่   ๓๑   ง    ราชกิจจานุเบกษา            ๒๓   มีนาคม   ๒๕๔๙


                                         ประกาศคณะกรรมการขาราชการฝายรัฐสภา

                                          เรื่อง   คาตอบแทนและสิทธิประโยชนของพนักงานราชการ
                                                           (ฉบับที่  ๒)


                                 โดยที่ไดมีการกําหนดใหพนักงานราชการไดรับสิทธิประโยชนวาดวยการลา  การไดรับคาตอบแทน

                          ระหวางลา  การไดรับคาตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลางาน  คาใชจายในการเดินทาง  คาเบี้ยประชุม
                          คาตอบแทนการออกจากราชการโดยไมมีความผิด  ตามระเบียบคณะกรรมการขาราชการฝายรัฐสภาวาดวย

                          พนักงานราชการ  พ.ศ.  ๒๕๔๘  ดังนั้น  จึงสมควรกําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิประโยชนใหแก
                          พนักงานราชการดังกลาว  เพื่อใหสวนราชการสังกัดรัฐสภาถือปฏิบัติ

                                 อาศัยอํานาจตามความในขอ  ๑๕  วรรคหนึ่งและวรรคสาม  ขอ  ๑๘  และขอ  ๓๐  ของระเบียบ
                          คณะกรรมการขาราชการฝายรัฐสภาวาดวยพนักงานราชการ  พ.ศ.  ๒๕๔๘  คณะกรรมการขาราชการ

                          ฝายรัฐสภาจึงกําหนดสิทธิประโยชนของพนักงานราชการไว  ดังนี้

                                 ขอ  ๑  ประกาศนี้เรียกวา  “ประกาศคณะกรรมการขาราชการฝายรัฐสภา  เรื่อง  คาตอบแทน
                          และสิทธิประโยชนของพนักงานราชการ  (ฉบับที่  ๒)”

                                 ขอ  ๒  ประกาศนี้ใหใชบังคับตั้งแตบัดนี้เปนตนไป
                                 ขอ  ๓  ในประกาศนี้

                                 “ป”   หมายความวา  ปงบประมาณ  (๑  ตุลาคม  -  ๓๐  กันยายน)
                                 ขอ  ๔  พนักงานราชการมีสิทธิการลาในประเภทตาง ๆ  ดังตอไปนี้

                                 (๑)  การลาปวย  มีสิทธิลาปวยไดเทาที่ปวยจริง  การลาปวยตั้งแต  ๓  วันขึ้นไป  ผูมีอํานาจอนุญาต

                          อาจสั่งใหมีใบรับรองแพทยจากสถานพยาบาลที่ทางราชการรับรองประกอบการลาหรือประกอบการพิจารณา
                          อนุญาตก็ได

                                 (๒)  การลาคลอดบุตร  มีสิทธิลาคลอดบุตรได  ๙๐  วัน
                                 (๓)  การลากิจสวนตัว  มีสิทธิลากิจสวนตัวไดปละไมเกิน  ๑๐  วัน

                                 (๔)  การลาพักผอนประจําป  มีสิทธิลาพักผอนปละ  ๑๐  วันทําการ  สําหรับในปแรกที่ไดรับ
                          การจางเปนพนักงานราชการยังไมครบ  ๖  เดือน  ไมมีสิทธิลาพักผอน







                                                                                      รวมกฎหมาย
                                                                       เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล  451
   458   459   460   461   462   463   464   465   466   467   468