Page 25 - รายงานสรุปโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ชุมคน ชุมชน คนใต้ ครั้งที่ 3
P. 25
๒๔
อีกหนึ่งตัวแปรส าคัญคือ อิทธิพลเถื่อน ยาเสพติด สิ่งผิดกฎหมาย การคามนุษยแที่เติบโตในบริเวณชายแดน
เร็วมาก ปใจจุบันจังหวัดปใตตานีมีบอนพนันเกลื่อนกลาด ขอมูลจากส านักงานคณะกรรมการปูองกันและปราบปราม
ยาเสพติดระบุวา มีคนติดยาเสพติด 50,000 คน มีผูตองการบ าบัด 20,000 คน แตสถานบ าบัดยาเพสติดกลับมีไม
เพียงพอที่จะรองรับ ชาวบานสวนมากจึงใชวิธีเลิกยาเสพติดดวยการหักดิบ
“ดิฉันเคยศึกษาวิจัยพบว่า เด็กอายุต่ ากว่า 18 ปี จับอาวุธเป็นชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน(ชรบ.) สูงถึง
ร้อยละ 65 บางรายอายุไม่ถึง 13 ปี ก็ใช้อาวุธสงครามได้ เด็กกลุ่มนี้จะตกเป็นเครื่องมือของกลุ่มก่อความไม่สงบ
หรือไม่ก็ตกเป็นเครื่องมือของกลไกรัฐ”
โจทยแส าคัญในอนาคตจึงอยูที่การกลับมาอยูรวมกันอยางสันติสุขไดอยางไร อยูกันอยางไววางใจกันอยางไร
ตองกลับไปถามรัฐเองวาใหความไววางใจคนในจังหวัดชายแดนใตมากนอยแคไหน แลวท าไมเสียงของเขาจึงไมไดรับ
ฟใงเทาที่ควร แนวทางส าคัญจึงอยูที่รัฐตองปรับลดความคิดที่มองความมั่นคงของรัฐมากกวาการมองความมั่นคงของ
มนุษยแที่อยูในดินแดนเหลานั้น ทั้งนี้เพื่อลดความเกลียดชังและการแบงพวกระหวางกัน รัฐตองใจกวางที่จะใหผูหญิง
เขามาเป็นกลไกหนึ่งในการแกไขปใญหา ผูหญิงไมควรถูกจัดอยูในกลุมที่ดอยโอกาส ในที่สุดแลวเราสามารถมองเห็น
เรื่องราวของคนเล็กคนนอยเหลานี้ดวยการสรางธรรมาภิบาลที่ใหความเขาใจคนที่แตกตางกัน และตองใหอิสระใน
การนับถือศาสนาที่แตกตางกันดวย
รายงานโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ชุมคน ชุมชน คนใต ครั้งที่ ๓ เสียงจากผูไรสิทธิชายแดนใต