Page 29 - รายงานสรุปโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ชุมคน ชุมชน คนใต้ ครั้งที่ 3
P. 29

๒๘


                     สรุปภาพรวม เวทีเสวนาเรื่องเสียงจากผู๎ไร๎สิทธิ: สิทธิประชาชนที่จะก าหนดอนาคตตนเอง

                     ด าเนินรายการโดย นางปรีดา คงแป้น มูลนิธิชุมชนไท


                     ผู๎เข๎ารํวมเสวนา
                     ตัวแทนเครือข฽ายชุมชนศรัทธา(ใหญ฽ดี ดือราแม)

                     ตัวแทนเครือข฽ายอิควะฮแเปอรแตาเนียนสโตยจ.สตูล(อะบารแ อุเส็น )
                     ตัวแทนเครือข฽ายคนไทยพลัดถิ่น (อาอีฉ฿ะ แก฾วนพรัตนแ)
                     ตัวแทนเครือข฽ายการศึกษา (อาไซนแน฽า  อับดุลเลาะ)
                     ตัวแทนผู฾หญิงผู฾ได฾รับผลกระทบ (อ฾อยใจ ศรีสุวรรณ)

                     นายอะบาร์ อุเส็น กล฽าวในวงเสวนาว฽า เครือข฽ายอิควะฮแ เปอรแตาเนียน สโตย เป็นการรวมตัวกันของ

              เครือข฽ายเกษตรกรจังหวัดสตูลระหว฽างเกลอเขา เกลอนา และเกลอเล เพื่อเรียนรู฾นโยบายและแผนพัฒนาของภาครัฐ
              ในจังหวัดสตูล เนื่องจากเกลอเลคือกลุ฽มประมงชายฝใ่ง ตอนนี้ก าลังเผชิญหน฾ากับโครงการท฽าเรือน้ าลึกปากบารา และ

              เกลอเขาคือเครือข฽ายปุาต฾นน้ า ก าลังเผชิญหน฾ากับโครงการเขื่อนทุ฽งนุ฾ย


                     “เราใช้หลักศาสนาอิสลามมาร่วมกันคิดร่วมกันแก้ปัญหา ให้สามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ของ
              นายทุน กับวิถีชีวิตที่ชุมชน เราต้องคิดให้ได้ว่า อะไรเหมาะสมกับพื้นที่ของตัวเอง ตอนนี้เครือข่ายของเรามีการจัดตั้ง

              กองทุนแพะเพื่อมนุษยชาติ มีนัยสื่อถึงความมั่นคงทางอาหารของโลกที่ก าลังวิกฤติ” นายอะบารแ กล฽าว


                     นายมาหาหมัด นาซือรี เมาตี ตัวแทนจากเครือขํายชุมชนศรัทธา กล฽าวในวงเสวนาว฽า ตนมองไม฽เห็นว฽า
              รัฐบาลไหนจะแก฾ปใญหาความไม฽สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต฾ได฾ และยังมองไม฽เห็นโอกาสใดๆ จากการเข฾าสู฽

              ประชาคมอาเซียนในอีก 4 ปีข฾างหน฾า มิหน าซ้ าอาจจะท าให฾แย฽กว฽าเดิม ตราบใดที่คนไทยยังไร฾สิทธิไร฾เสียง โดยรัฐ
              ก าหนดนโยบายแล฾ว น ามาบังคับใช฾กดขี่ชาวบ฾าน ซึ่งเป็นการท าลายอัตลักษณแของคนท฾องถิ่น ทั้งทางตรงและ


              ทางอ฾อม ต฽อสังคม วิถีชีวิตชุมชน และแนวทางการศึกษาของศาสนาอิสลาม

                     นอกจากนี้ยังมีผู฾เข฾าร฽วมฟใงการเสวนาร฽วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยนายซอฮิบ เจริญสุข ตัวแทนจาก

              เครือขํายคนไทยพลัดถิ่น กล฽าวต฽อวงเสวนาว฽า รัฐมองแต฽ความมั่นคงของชาติ ไม฽ได฾มองถึงความมั่นคงของอาณา
              ประชาราษฎรแ เช฽น เมื่อปี 2548 มีมติคณะรัฐมนตรีให฾ส ารวจและจัดท าบัตรประจ าตัวประชาชนที่มีรหัสเลข 0 ให฾คน

              ไทยพลัดถิ่น แต฽กลับมีปใญหาการคอรแรัปชั่นในการส ารวจและจัดท าบัตร ต฽อมาก็มีมติให฾ยกเลิกการท าบัตรดังกล฽าว

              ท าให฾คนไทยพลัดถิ่นไม฽มีสิทธิแม฾กระทั่งการแจ฾งเกิด และการแจ฾งตาย

                     นางสาวศุชาวรรณ ประโมงกิจ ตัวแทนจากกลุํมชาติพันธุ์ชาวเล แสดงความคิดเห็นว฽า ปใญหาของกลุ฽ม

              ชาวเลคือ ปใญหาที่อยู฽อาศัยและที่ท ากินในพื้นที่ที่ทางภาครัฐประกาศเป็นอุทยาน และพื้นที่ที่นายทุนเข฾าไปท ารีสอรแท
              บ฾านพักตากอากาศ แล฾วออกเอกสารสิทธิ์ทับที่ดินที่ชาวเลอาศัยอยู฽เดิม แม฾กระทั่งสุสานฝใงศพยังออกเอกสารสิทธิ์ได฾

              จนตอนนี้ชาวเลที่เกาะหลีเปฺะ จังหวัดสตูล ต฾องฝใงศพใต฾ถุนบ฾าน




                         รายงานโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ  ชุมคน ชุมชน คนใต฾  ครั้งที่ ๓ เสียงจากผู฾ไร฾สิทธิชายแดนใต฾
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34