Page 22 - รายงานสรุปโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ชุมคน ชุมชน คนใต้ ครั้งที่ 3
P. 22

๒๑

                     มหาวิทยาลัยทักษิณได฾ตระหนักและเล็งเห็นความส าคัญในการเข฾าเป็นส฽วนหนึ่งของการแก฾ไขปใญหามาโดย

              ตลอด จึงได฾จัดท าโครงการบริการวิชาการภายใต฾ชื่อ “โครงการจัดตั้งศูนยแอิสลามศึกษาเพื่อการบูรณาการ”  ขึ้นใน
              คณะมนุษยศาสตรแและสังคมศาสตรแ มหาวิทยาลัยทักษิณ มาตั้งแต฽ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยวัตถุประสงคแเพื่อสร฾างสันติสุข

              และการแก฾ไขปใญหาที่ยั่งยืนด฾วยการสร฾างกระบวนการเรียนรู฾และขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนท฾องถิ่นให฾สอดคล฾องกับ

              วิถีและอัตลักษณแของชุมชน และการพัฒนาเครือข฽ายการเรียนรู฾ด฾านอิสลามศึกษาที่สามารถบูรณาการเข฾ากับ
              กระบวนการพัฒนาอย฽างเหมาะสมกับอัตลักษณแและวิถีอิสลามมาลายู


                     การด าเนินงานที่มีมาอย฽างต฽อเนื่องของโครงการจัดตั้งศูนยแอิสลามศึกษาเพื่อการบูรณาการ ร฽วมกับองคแกร

              ภาคีทั้งภาครัฐ องคแกรพัฒนาเอกชน องคแกรชุมชน ได฾กลายเป็นมิติใหม฽ของความร฽วมมือเพื่อการพัฒนา แก฾ไขปใญหา

              และเป็นพันธกรณีในการร฽วมสร฾างสันติสุขชายแดนใต฾ และในโอกาสที่มหาวิทยาลัยทักษิณได฾ร฽วมกับองคแกรภาคีจัด
              ประชุมวิชาการระดับชาติ “ชุมคน ชุมชน คนใต฾ ครั้งที่ ๓ : เสียงจากผู฾ไร฾สิทธิชายแดนใต฾”  [Voices  of  the

              Voiceless:  from  the  Southernmost  People  in  Thailand]  ขึ้นนี้ มหาวิทยาลัยคาดหวังเป็นอย฽างยิ่งว฽าการ
              เรียนรู฾และขับเคลื่อนงานอย฽างบูรณาการและต฽อเนื่อง ท าให฾สามารถสร฾างการเปลี่ยนแปลงในการแก฾ไขปใญหาความ

              รุนแรงและความไม฽มั่นคงในปใญหาชายแดนใต฾  ได฾อย฽างเป็นรูปธรรมต฽อไป



































                         รายงานโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ  ชุมคน ชุมชน คนใต฾  ครั้งที่ ๓ เสียงจากผู฾ไร฾สิทธิชายแดนใต฾
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27