Page 24 - รายงานสรุปโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ชุมคน ชุมชน คนใต้ ครั้งที่ 3
P. 24
๒๓
สรุปภาพรวมบรรยายพิเศษ “สันติสุขและการอยูํรํวมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม
โดย คุณอังคนา นีละไพจิตร
คุณอังคณา นีละไพจิตร ประธานมูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ (Justice for Peace Foundation) บรรยาย
ในหัวขอ “สันติสุขและการอยูรวมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม” วาตัวเองเป็นผูหญิงธรรมดาคนหนึ่งที่ที่ตองการให
ผูหญิงมีโอกาสในการเป็นกลไกส าคัญในการแกไขปใญหา โดยเฉพาะขอขอบคุณโครงการจัดตั้งศูนยแอิสลามศึกษาเพื่อ
การบูรณาการ คณะมนุษยศาสตรแและสังคมศาสตรแ มหาวิทยาลัยทักษิณ ที่ไดเปิดพื้นที่ใหผูหญิงไดขึ้นมาเป็นองคแ
ปาฐก และยังเปิดพื้นที่ใหเธอไดวิเคราะหแสังคมจากมุมมองของผูหญิงดวย
ในเรื่องสิทธิที่เทาเทียมนั้น เป็นความเชื่อที่พบวา ในจังหวัดชายแดนภาคใตยังมีปใญหาอยูมากโดยเฉพาะ
ปใญหาที่มาจากความแตกตางเรื่องศาสนาและวัฒนธรรม ซึ่งเห็นไดชัดวาอะไรก็ตามที่ขัดตอหลักการของกระแสหลัก
ในสังคม ก็จะท าใหพี่นองในชายแดนอยูดวยความยากล าบาก ปใญหาส าคัญที่เกิดขึ้นคือ ปใญหาการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนอยางกวางขวาง และการน าผูกระท าความผิดมาลงโทษก็ยังไมอาจเกิดขึ้นไดจริง น ามาซึ่งความเชื่ออีกอยาง
หนึ่ง คือความเชื่อเรื่องการเลือกปฏิบัติ
ส าหรับประเทศไทยซึ่งประกอบไปดวยความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม พบขอออนอยูภายใตค า
วา Indegious people หรือ ชนเผา ที่องคแการสหประชาชาติเองไดเปิดโอกาสใหมีสิทธิมีเสียงอยางทั่วถึง แตปใญหา
ส าคัญก็ยังเกิดขึ้นอีกหลายประการเชน
ประการแรก คนพื้นเมืองที่อยูตามชายขอบ มักเป็นผูไมมีสัญชาติและมักไมไดรับสอทธิ ไมสามารถเขาถึง
กระบวนการยุติธรรม การศึกษา และการรักษาพยาบาล ความแตกตางที่เกิดขึ้น จากทัศนคติที่ตางกัน มาจากการที่
คนที่อยูตามชายขอบถูกมองวาไมไดเป็นคนของรัฐไทย
ประการที่สอง อนุสัญญาสิทธิของพลเมืองใหโอกาสทุกคนไดรับสิทธิในการกระท าอยางทั่วถึงแตรัฐไทยมัก
มองความเป็นไทยวา คนที่ไมมีชื่อไทย ไมแตงกาบแบบไทย เป็นกลุมที่รัฐมองคนกลุมนี้ดวยสายตาแหงความไม
ไววางใจตลอดเวลา จนน ามาถึงความไมไววางใจ ความไมรวมมือ และบางพื้นที่น ามาซึ่งความรุนแรง
ประการที่สาม คนกลุมนอยถูกมองวาตัวเองถูกเลือกปฏิบัติและไมมีการใชระบบธรรมาภิบาลในการแกไข
ปใญหา และแมวาประเทศไทยจะลงนามในอนุสัญญาระหวางประเทศ แตตองยอมรับวาประเทศไทยยังมีปใญหาใน
การยอมรับความรวมมือที่ไดตกลงไวในอนุสัญญา
และปใญหาอยางหนึ่งที่ละเลยไมได คือปใญหาการแยงชิงทรัพยากรของรัฐจากชาวบาน ในจังหวัดปใตตานี
จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส อาจเป็นอีกจุดหนึ่งของความขัดแยงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต โดยเฉพาะที่
อ าเภอ บันนังสตา จังหวัดยะลา ซึ่งชาวบานไมมีที่ดินท ากิน อันเป็นผลกระทบจากการสรางเขื่อนบางลาง เมื่อปี
2519 หมูบานดั้งเดิมที่ดินมีทั้งมัสยิดและกุโบรแตองจมน้ าอยูใตเขื่อน ในขณะที่รัฐไมเคยใหอะไรตอบแทนตามที่เคย
สัญญาเอาไว จนชาวบานมองวา รัฐเป็นผูรุกรานชาวบาน ลาสุดเกิดกรณีปใญหาหอยแครง ที่ชาวประมงชายฝใ่งรอบ
อาวปใตตานีโดนจับกุมด าเนินคดี จากการตอสูกับกลุมทุนทองถิ่น ที่เขามายึดอาวปใตตานี ซึ่งเป็นพื้นที่ท าประมงไปท า
ฟารแมหอยแครง ก็เป็นอีกหนึ่งปใญหาที่นับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น รัฐควรสนใจปใญหาของชาวบาน มากกวาที่จะ
สนใจผลักดันเมกะโปรเจ็กตแ หรือพูดถึงแตการเขาสูประชาคมอาเซียน
รายงานโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ชุมคน ชุมชน คนใต ครั้งที่ ๓ เสียงจากผูไรสิทธิชายแดนใต