Page 68 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 68
ประชาชนบุกเบิกขยายพื้นที่ทำกิน ในที่ดินหรือ ขบวนการประชาชน ที่พัวพันกันอยางยุงเหยิง
เขตปาไมที่รัฐควรไดใชประโยชน แตในที่สุด รัฐจำตองยอมรับความจริง
แนวความคิดดังกลาว ไมไดคำนึงถึงการ ภายใตแรงกดดันจากนักวิชาการ องคกรภาค
ใชประโยชนของประชาชน และไมสอดคลองกับ ประชาชน ตลอดจนถึงชุมชนนานาชาติวา จำนวน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ที่ตองการเรงการขยายตัว พื้นที่ปาที่ลดลงอยางรวดเร็ว สะทอนใหเห็นถึง
ทางเศรษฐกิจ ซึ่งจำเปนตองใชทรัพยากรของ ความลมเหลวของรัฐในการพัฒนาประเทศ และ
ประเทศเพิ่มขึ้น แตกลับหวงหามที่ดิน ซึ่งเปน กำลังทำใหสิ่งแวดลอมที่สำคัญที่สุดของประเทศ
ปจจัยการผลิตที่สำคัญ เสียหายอยางรุนแรง
การกำหนดนิยามเขต “ปา” ครอบคลุม นโยบายปาไม พ.ศ.๒๕๒๘ จึงเปนจุด
พื้นที่ที่ไมมีเอกสารสิทธิ โดยไมมีการประชาสัมพันธ เปลี่ยนที่สำคัญ เปนครั้งแรกที่รัฐยอมรับวา
หรือการเตรียมการชี้แจง ทำความเขาใจ และวาง จำเปนจะตองมีการรักษา “ปา” อยางจริงจัง โดย
แนวทางการจัดการเพื่อปองกันปญหาและผล กำหนดใหมีพื้นที่ปารอยละ ๔๐ ของเนื้อที่ทั้งหมด
กระทบที่จะเกิดจากการทับซอน และความไม ในประเทศ คำนิยามของ “ปาอนุรักษ” จึงเขามา
เขาใจของประชาชน ประกอบกับการคมนาคมที่ แทนที่ในภาษากฎหมาย
ไมสะดวก กลไกของรัฐที่เขาไมถึง ระบบการ แตการเปน “ปาอนุรักษ” ในความหมาย
สื่อสารที่ลาสมัยในชวงเวลานั้น ทำใหเขต “ปา” ของรัฐคือ การที่ตองไมมีชุมชน หรือบุคคลใด
ในความหมายของรัฐ แตกตางจาก “ปา” ใน ก็ตาม ตั้งถิ่นฐานและใชประโยชนในปา สมมติฐาน
ความหมายของประชาชนที่จำเปนตองพึ่งพิง ของรัฐคือ ประชาชนเหลานั้นไมมีจิตสำนึกในการ
และใชประโยชนจากปา “อนุรักษปา” พวกเขาจะใชประโยชนจากปาอยาง
แมวารัฐจะตรากฎหมายขึ้น เพื่อสงวน เต็มที่ และจะทำใหปาทรุดโทรม หมดสภาพ
หวงหาม “ปา” อยางเอาจริงเอาจัง แต “ปา” กลับ ความเปนปาไปในที่สุด ถาไมควบคุม พวกเขาจะ
ถูกทำลายในเวลาอันรวดเร็ว ในชวงระยะเวลา บุกเบิกและขยายพื้นที่ทำประโยชนออกไปอยาง
เพียง ๓๐ ป พื้นที่ปาไมกลับลดจำนวนลงอยาง ไมมีที่สิ้นสุด
รวดเร็ว ซึ่งเปนผลจากการเรงการเติบโตทาง โดยเฉพาะชนกลุมนอยที่อยูบนที่สูงใน
เศรษฐกิจที่ใชทรัพยากรของประเทศในทุกดาน สายตาของรัฐ คือ พวกเขามักจะทำ “ไรเลื่อนลอย”
จำนวนมหาศาล สงผลกระทบตอระบบนิเวศ และ และอพยพไปหาที่อุดมสมบูรณแหงใหม โดยทิ้ง
สงผลตอการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยในทุกดาน ซากอันทรุดโทรมของปาไวเบื้องหลัง
อยางลึกซึ้ง จนกลายเปนปญหาเชิงโครงสรางที่ แนวความคิดและวาทกรรมเหลานี้ รัฐได
ทำใหสังคมไทยตองเผชิญกับปญหาขนาดใหญ ถายทอดใหกับคนในสังคมไทย ผานทางสื่อ
ดานตางๆ ที่ซอนทับกันหลายระดับ ประชาสัมพันธของรัฐ รวมทั้งแบบเรียนของเด็ก
ปญหาที่ดินปา กลายเปนปญหาเชิง นักเรียน และกระทำซ้ำครั้งแลวครั้งเลา จนกลาย
โครงสรางที่เกี่ยวพันกับการตอสูทางความคิด เปนตรรกะที่คนที่ไมเคยมีชีวิตอยูกับปาคิดวา
ความเชื่อในเรื่องสิ่งแวดลอม และเกี่ยวพันกับมิติ คนที่อยูกับปาหรือมีชีวิตกับการใชประโยชนจาก
ทางการเมือง เศรษฐกิจ กฎหมาย ระบบราชการ ปาที่ผิดกฎหมาย เปนคนที่ไมเห็นแกสิ่งแวดลอม
เสียงจากประชาชน
“ที่ดินในเขตปาและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและปา” 67