Page 177 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 177

ทำกิน รวมไปถึงการอพยพชุมชนออกจากพื้นที่ และการมีสวนรวมของชุมชนตอการตัดสินใจใน
            โครงการ                                    การดำเนินโครงการใดๆ ของรัฐ นอกจากนั้น รัฐ

                  ๓.๒ การดำเนินการโครงการตางๆ ของ ควรสรางทัศนคติที่ถูกตองใหกับสาธารณชน ให
            รัฐในพื้นที่ปา ควรมีการดำเนินการที่รอบคอบ มี เขาใจ และยอมรับความแตกตาง หลากหลาย
            การศึกษาชุมชนเปาหมายแตละพื้นที่เพื่อให ของวิถีการดำรงชีวิตของกลุมชาติพันธุตางๆ ทั้ง
            สามารถตอบสนองความตองการที่แทจริงของ ในที่ราบและที่สูง
            ชุมชนดวย

                  ๓.๓ ใหกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ      ı.  ¥â“π°ÆÀ¡“¬
            พันธุพืช เขมงวดตรวจสอบการใชพื้นที่ตนน้ำ      ๕.๑ รัฐตองดำเนินการปรับปรุงกฎหมาย
            การพัฒนาโครงการตางๆ เชน การสรางอางเก็บ ที่เกี่ยวของกับเรื่องปาไมและอุทยานแหงชาติทุก

            น้ำ การตัดถนนผานเขาไปในพื้นที่อุทยานแหง ฉบับใหสอดคลองกับรัฐธรรมนูญ
            ชาติ โดยยึดหลักการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง           ๕.๒ รัฐตองทบทวนพระราชบัญญัติอุทยาน
            และยั่งยืน และการมีสวนรวมของประชาชนใน แหงชาติ พ.ศ.๒๕๐๔ มาตรา ๒๑ และ มาตรา
            การพัฒนา                                   ๒๒ ที่ใหอำนาจพนักงานเจาหนาที่ออกคำสั่ง
                    ๓.๔ การจัดทำโครงการพัฒนาขนาด หรือใหรื้อถอนสิ่งปลูกสรางในเขตอุทยานแหง

            ใหญที่จะมีผลกระทบตอชุมชน จะตองคำนึงถึงผู ชาติ เพื่อคุมครองสิทธิเสรีภาพและทรัพยสินของ
            มีสวนไดสวนเสีย และผลกระทบทางสิ่งแวดลอม  ประชาชน เพราะหากเจาหนาที่ของรัฐปฏิบัติโดย
            ผลกระทบทางสังคม ตลอดจนใชกระบวนการมี ไมเปนธรรมจะทำใหเกิดความขัดแยงระหวางเจา

            สวนรวม  จนกวาจะเปนที่ยอมรับของทุกฝาย  หนาที่กับประชาชนจนถึงขั้นรุนแรงได  การ
            โดยเฉพาะประชาชนในพื้นที่                   ดำเนินการดังกลาวควรผานกระบวนการทางศาล
                                                       ยุติธรรม
                  Ù. ¥â“π°≈ÿà¡™“µ‘æ—π∏ÿå                     ๕.๓ รัฐตองปรับปรุงพระราชบัญญัติปาไม
                  ๔.๑ รัฐตองดำเนินการสำรวจและเรงรัด พ.ศ.๒๔๘๔ ในประเด็น นิยามปา ใหสอดคลอง

            การแกไขปญหาการถือสัญชาติไทยของกลุม กับสภาพที่ดินในปจจุบัน
            ชาติพันธุตางๆ เพื่อใหพวกเขาไดรับการคุมครอง  ๕.๔ รัฐบาลควรยกเลิกมติ ๓๐ มิถุนายน
            สิทธิขั้นพื้นฐาน และสงเสริมใหพวกเขามีสวนรวม ๒๕๔๑  วาดวยมาตรการและแนวทางในการ

            ในการพัฒนาชุมชนและทองถิ่น                 แกไขปญหาที่ดินในเขตปา  โดยใหกลับไปใช
                  ๔.๒ รัฐตองดำเนินการวางแผนยุทธศาสตร  แนวทางตามมติคณะรัฐมนตรี  ๑๗  และ  ๒๙
            การพัฒนาพื้นที่สูงในเชิงบูรณาการ โดยยึดหลัก เมษายน ๒๕๔๐
            การมีสวนรวมของประชาชน เคารพวิถีชีวิตของ        ๕.๕ หากมีการดำเนินคดีที่ไมเปนธรรม
            กลุมชาติพันธุ และปราศจากการเลือกปฏิบัติ   ตองมีมาตรการเยียวยาชวยเหลือผูไดรับผล

                  ๔.๓  รัฐตองรับรองสิทธิชุมชนทองถิ่น  กระทบหรือไดรับความเสียหายจากการดำเนิน
            โดยเฉพาะชุมชนกลุมชาติพันธุตางๆ โดยคำนึง คดีโดยรัฐ
            ถึงวิถีการผลิตดั้งเดิมของชุมชน กรรมสิทธิ์ชุมชน


                    เสียงจากประชาชน
            176     การตอสูเพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีรองเรียน ๒๕๔๕-๒๕๕๐
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182