Page 133 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 133

คำรองที่       เรื่องรองเรียน               ความเห็นของ กสม.                                                                มาตรการแกไข / ขอเสนอแนะนโยบาย โดย กสม.

              ๑๕๓/๒๕๔๘       กรณีปาตนน้ำโตนแพร       ๑) การกอสรางโครงการและการดำเนินการ รวม                             มาตรการแกไข
                                                 ทั้งการปรับปรุงซอมแซมโรงไฟฟาพลังน้ำหวยลำสินธุ
              รายงานผลการ    ทอง ต.ลำสินธุ      เปนการสิ้นเปลืองงบประมาณไมคุมทุนในการใชประโยชน                              ๑. ใหกระทรวงพลังงานยกเลิกการดําเนินการโรงไฟฟาพลังน้ำหวยลําสินธุ ภายใน ๖๐ วัน นับแต
              ตรวจสอบที่     กิ่งอ.ศรีนครินทร    และสรางในพื้นที่ที่กอใหเกิดความไมปลอดภัยตอ                           วันที่ไดรับรายงานฉบับนี้

              ๑๒๘/๒๕๔๙       จ.พัทลุง            ประชาชนและนักทองเที่ยว อันเนื่องมาจากการเปลี่ยน                                 ๒. ใหจังหวัดพัทลุง และกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช สนับสนุนใหกลุมอนุรักษน้ำตก
                             •
              ลงวันที่          การสรางโรงไฟฟา    แปลงทางธรณีวิทยาที่มาจากภัยธรรมชาติอยางตอเนื่อง                       โตนแพรทองรวมกับชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมกันบริหารจัดการน้ำตกโตนแพรทอง จัด
              ๒๙ ธ.ค.๔๙       พลังน้ำหวยลำสินธุ                                                                           ระเบียบรานคา จัดหาที่จอดรถ และการเก็บขยะ ในรูปแบบของคณะกรรมการรวมในการดําเนินการ
                             •  การจัดการดูแลน้ำตก  จึงถือไดวาการดำเนินการโครงการโรงไฟฟาหวยลำสินธุ                     ภายใน ๖๐ วัน นับแตวันที่ไดรับรายงานฉบับนี้
                              โตนแพรทอง          ละเมิดสิทธิของชุมชน  ตามรัฐธรรมนูญ  พ.ศ.๒๕๔๐                               ขอเสนอแนะ
                                                 มาตรา ๔๖ และ มาตรา ๕๖                                                            ๑. รัฐบาลควรสงเสริมองคกรประชาชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีความรูความสามารถ
                                                       ๒) การขัดขวางไมใหกลุมอนุรักษเขาไปจัดการ                         ในการจัดการแหลงทองเที่ยวในเขตอุทยานแหงชาติ เพื่อใหองคกรเหลานี้สามารถดูแลรักษาและใช
                                                 ดูแลน้ำตกโตนแพรทองเปนการละเมิดสิทธิชุมชนในการ                             ประโยชนจากทรัพยากรในการสรางอาชีพและรายไดใหแกประชาชนในทองถิ่นไดอยางยั่งยืน
                                                 บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.                                  ๒. กระทรวงพลังงานควรพิจารณาทบทวนโครงการผลิตพลังงานไฟฟาจากน้ำตกทุกโครงการทั่ว
                                                 ๒๕๔๐ มาตรา ๔๖ และ มาตรา ๕๖                                                 ประเทศ ใหมีความปลอดภัยในการดำเนินโครงการ ความคุมทุน และการผลิตไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพ

                                                                                                                            ตลอดจนไดสรางการมีสวนรวมของประชาชนในพื้นที่ในการบริหารจัดการและดูแลการดำเนินโครงการ




              ๔๐๓/๒๕๔๘       กรณีการกอสรางฝาย        ๑) การที่ผูประกอบการสวนสมดักน้ำที่ตนน้ำหวย                       มาตรการในการแกไข

              รายงานผลการ    น้ำลนในเขตอุทยาน แมฮาง เปนการกระทำที่ผิดกฎหมายและละเมิดสิทธิการ                                  ๑. จังหวัดเชียงใหมตองดำเนินการตรวจสอบและพิจารณาลงโทษผูเกี่ยวของในการปลอมแปลง
              ตรวจสอบที่     แหงชาติแมฝาง      ใชน้ำของชุมชน                                                             เอกสาร และแอบอางชื่อชาวบานในการนำเสนอโครงการ ทั้งนี้ภายใน ๓๐ วัน นับแตไดรับรายงานฉบับนี้
              ๔๖/๒๕๔๙        ต.แมสาว อ.แมอาย         ๒)  การสรางฝายน้ำลนในเขตอุทยานฯ  โดย                                     ๒. อุทยานแหงชาติแมฝางควรเรงรีบปรับและฟนฟูบริเวณที่ตัดถนนเขาไปฝายน้ำลนเพื่อปองกัน
              ลงวันที่       จ.เชียงใหม         ประชาชนไมมีสวนรวมและรับรู เปนการละเมิดสิทธิของ                        การบุกรุกทำลายปาเพิ่ม ภายใน ๓๐ วัน นับแตไดรับรายงานฉบับนี้
              ๑๙ ก.ย. ๔๙                         ชุมชน                                                                       ขอเสนอแนะ
                                                       ๓) หนวยราชการที่เกี่ยวของ ตองคอยดูแลใหมี                               ๑. จังหวัดเชียงใหมตองเขมงวดตอการบุกรุกปา และการแยงชิงน้ำของผูประกอบการรายใหญ

                                                 การแบงสรรน้ำที่เปนธรรม โดยใหผูมีสวนไดเสียทุกฝาย                     จากชุมชนทองถิ่น ทั้งยังควรสงเสริมการดำเนินงานและความเขมแข็งของคณะกรรมการเหมืองฝายของ
                                                 เขารวมการกำหนดสัดสวนที่ถูกตองตามวิถีชีวิตดั้งเดิมที่                   ชุมชนในการจัดการทรัพยากรน้ำ
                                                 เคยถือปฏิบัติกันมา เพื่อไมใหเกิดความขัดแยง                                    ๒. การจัดทำโครงการพัฒนาของรัฐที่กอใหเกิดผลกระทบตอชีวิตและความเปนอยูของชุมชน
                                                                                                                            หนวยงานที่เกี่ยวของตองชี้แจงขอมูลขาวสารอยางครบถวน ตรงไปตรงมา และมีกระบวนการรับฟงความ
                                                                                                                            คิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจไปตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ
                                                                                                                                  ๓. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ตองเขมงวดการใชพื้นที่ตนน้ำ และการตัดถนนผาน
                                                                                                                            เขาไปในพื้นที่อุทยานและยึดหลักการพัฒนาเศรษฐกิจอยางยั่งยืน และการมีสวนรวมของประชาชนในการ
                                                                                                                            พัฒนา









                    เสียงจากประชาชน
            132     การตอสูเพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีรองเรียน ๒๕๔๕-๒๕๕๐
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138