Page 128 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 128

(Û) °√≥’ ‘∑∏‘∫ÿ§§≈·≈–∑√—æ¬å ‘𠇮â“Àπâ“∑’ËÕÿ∑¬“π·Ààß™“µ‘‰∑√‚¬§ ®—ßÀ«—¥
               °“≠®π∫ÿ√’ π”°”≈—ß∂Õπ∑”≈“¬µâπ¬“ßæ“√“„π·ª≈ß∑’Ë¥‘𵑥°—∫‡¢µÕÿ∑¬“π·Ààß™“µ‘
               ‰∑√‚¬§ (‡≈¢§”√âÕß∑’Ë ıÒÙ/ÚıÙ¯ ๏ √“¬ß“πº≈°“√µ√«® Õ∫∑’Ë ÛÚ/Úıı)

                     ผูรองไดเขาอาศัยและทำประโยชนดาน  ครอบครองพื้นที่ตามแบบแจงการใชที่ดินของ
               การเกษตรในที่ดินหมูที่  ๕  ตำบลวังกระแจะ   บุคคลในพื้นที่ปาไม  (แบบ  ทป.๔)  ๑  แปลง
               อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี มาตั้งแตป   เนื้อที่ประมาณ  ๑๕๐  ไร  ไดที่ดินมาโดยการ
               พ.ศ.๒๕๑๒ ในบริเวณที่ทำกินเรื่อยมา จนในป   จับจอง เขาทำประโยชนในที่ดินเมื่อป พ.ศ.๒๕๑๑

               พ.ศ.๒๕๔๘ ผูรองไดเปลี่ยนจากการปลูกพืชไร  โดยผูใหญบานหมูที่ ๕ เปนผูนำชุมชนรับรอง
               มาปลูกยางพารารวมพื้นที่ ๔๘ ไร โดยมิไดมี  ขอมูล เจาหนาที่สำรวจ ๔ นาย ระบุสภาพพื้นที่
               เจตนาที่จะบุกรุกพื้นที่เขตปาอุทยานแหงชาติ  โซนซี ชั้นลุมน้ำ ๓ ลักษณะภูมิประเทศที่ราบ
               ไทรโยค  ตอมามีเจาหนาที่อุทยานแหงชาติ   ความลาดชัน ๗ องศา สรุปความเห็นของเจาหนาที่

               ไทรโยค นำเจาหนาที่ประมาณ ๕๐ คนพรอม      วามีการทำกินตอเนื่อง  เห็นควรนำเสนอเขา
               อาวุธปนครบมือเขามาถอนทำลายตนยางพารา     กิจกรรมเรงรัดพิสูจนสิทธิ  จนป  พ.ศ.๒๕๔๘
               ของผูรอง ไดถอนตนยางพาราของผูรองทั้งหมด   ผูรองไดเปลี่ยนแปลงพืชที่ปลูกเดิมจากสวน
               ๔๘ ไร และไดรับความเดือดรอนจากการจับกุม  มะนาวและพืชอื่น มาปลูกยางพาราแทนในที่

               ของเจาหนาที่อุทยานฯ นอกจากนั้นผูรองเห็นวา   ครอบครองในพื้นที่ประมาณ ๕๐ ไร และเปนเหตุ
               การกระทำของเจาหนาที่อุทยานฯ เปนการเลือก  ใหเจาหนาที่อุทยานแหงชาติไทรโยคแจงจับกุม
               ปฏิบัติ  เนื่องจากมีราษฎรอีกหลายรายครอบ         ๒. การรื้อถอนทำลายตนยางของเจาหนาที่
               ครองที่ดินและทำประโยชนในที่ดินบริเวณ      อุทยานแหงชาติ เมื่อวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๔๘

               เดียวกันและใกลเคียงกับผูรอง แตเจาหนาที่มิได  เจาหนาที่อุทยานฯ นำโดยนายสวัสดิ์ อั้นเตง
               ดำเนินการใดตอผูอื่น                      หัวหนาอุทยานแหงชาติไทรโยค นำกำลังไมนอย
                                                          กวา ๕๐ คนพรอมอาวุธปนยาวหลายกระบอก
                     §”™’È·®ß®“°ºŸâ√âÕß                   (ตามหลักฐานภาพถาย) ไดเขามายังบริเวณที่

                     ๑. ผูรองและครอบครัวไดไปตั้งภูมิลำเนา  ปลูกยางพาราในแปลงที่ติดกับบานพักอาศัย
               และเพาะปลูกพืชไรตั้งแตป พ.ศ.๒๕๑๒ และ    พื้นที่ รวม ๔๘ ไร เจาหนาที่บางคนไดแสดง
               กระทรวงมหาดไทยไดประกาศยกฐานะชุมชนที่      กิริยาและกระทำในลักษณะขมขู และไดถอนตน
               พวกผูรองอาศัยขึ้นเปนหมูบาน  มีผูใหญบาน  ยางพาราที่ผูรองไดปลูกไวในพื้นที่ ๔๘ ไร ไป

               ปกครองมาไมนอยกวา ๓๐ ป ในป พ.ศ.๒๕๕๐    ทั้งหมดผูรองจึงไดไปแจงความไวที่สถานีตำรวจ
               ผูรองไดปลูกพืชไรและพืชอื่นในแปลงติดหลัง  ภูธรอำเภอไทรโยค  เมื่อวันที่  ๑๑  สิงหาคม
               บานพื้นที่ประมาณ ๕๐ ไร ตอมาป พ.ศ.๒๕๔๑   ๒๕๔๘ ดวย ตอมาวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๔๘
               ผูรองไดแบงที่ดินใหบุตรรวม ๖ คน บุตรชายได  เจาหนาที่อุทยานฯ นำคนเขาไปปลูกปาเฉลิม

               เขามาทำกิน แตตองทำงานรับจางดวยจึงมีที่ดิน  พระเกียรติในพื้นที่ดังกลาว ปจจุบันสวนปาถูก
               รกรางบางสวน และเมื่อมีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ   ปลอยใหเสื่อมโทรมไมมีผูดูแลรักษา และผูรอง ก็
               วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๑ ผูรองจึงไดแจงการ  ไมกลาเขาไปเชนกัน


                                                                              เสียงจากประชาชน
                                                     “ที่ดินในเขตปาและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและปา”   127
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133