Page 370 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะนโยบายหรือมาตรการเพื่อคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอายุ: กรณีการเลือกปฏิบัติในผู้สูงอายุ
P. 370
312 | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
5.1 ผลการส ารวจความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ
จากข้อมูลในภาคผนวก 1 สามารถน ามาสรุปผลการส ารวจ ดังรายละเอียด ดังต่อไปนี้
5.1.1 คุณลักษณะทางประชากรที่ส าคัญ
(1) คุณลักษณะทางประชากรที่ส าคัญ ผลการสุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุและการสัมภาษณ์ตามช่วงอายุและ
ตามเพศจากจังหวัดที่มีสัดส่วนประชากรสูงอายุที่สูงที่สุดในแต่ละภาคจ านวน 4 จังหวัด ได้แสดงไว้ในตารางที่
14 ซึ่งกลุ่มตัวอย่างในการส ารวจทั้งหมด มีจ านวนเท่ากับ 213 คน ส าหรับคุณลักษณะประชากรที่ส าคัญ ได้แก่
ส่วนใหญ่ของผู้สูงอายุมีสถานภาพสมรสที่สมรสแล้วและเป็นหม้าย ผู้สูงอายุที่เป็นโสดก็มีสัดส่วนที่สูงในแต่ละ
ช่วงอายุ (ตั้งแต่ ร้อยละ 11 ขึ้นไป) มีระดับการศึกษาไม่สูง คือ ระดับประถมศึกษาหรือต่ ากว่าประถมศึกษา
รวมทั้งยังมีสัดส่วนของผู้สูงอายุที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ด้วย ส าหรับการอยู่อาศัย มีผู้สูงอายุในสัดส่วนตั้งแต่
ร้อยละ 20 ขึ้นไป ที่อยู่คนเดียวหรืออยู่กับคู่สมรส ในภาพรวม จากคุณลักษณะทางประชากรของกลุ่มตัวอย่าง
ผู้สูงอายุในการส ารวจครั้งนี้ ชี้ให้เห็นว่า กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นกลุ่มที่มีโอกาสเป็นกลุ่มผู้มีความเปราะบาง คือ
เป็นโสด มีการศึกษาไม่สูงและอาศัยอยู่คนเดียวหรือกับคู่สมรส เท่านั้น (รายละเอียดแสดงในตารางที่ 15)
ตารางที่ 14 จ านวนกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุจากจังหวัดตัวอย่างแยกตามเพศและช่วงอายุ
ช่วงอายุ
จังหวัด 60-69 ปี 70-79 ปี 80 ปีขึ้นไป รวม
ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง
กรุงเทพมหานคร 15 24 11 14 6 11 81
นครราชสีมา 12 16 5 10 3 6 52
เชียงใหม่ 8 11 5 8 3 5 40
นครศรีธรรมราช 7 12 5 8 3 5 40
รวม 42 63 26 40 15 27 213