Page 93 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 93
เพิ่มเติม แต่เนื่องจากในบางประเด็นมีหน่วยงานให้ การด�าเนินการที่เกี่ยวข้อง
ความเห็นหลากหลายแนวทาง อยู่ระหว่างการสรุปความเห็น เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2565 กสม. ได้มีหนังสือยืนยัน
ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก่อนเสนอคณะรัฐมนตรี ขอแก้ไขพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
พิจารณาต่อไป คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560
เพื่อบัญญัติให้ กสม. มีหน้าที่และอ�านาจในการประนีประนอม
ข้อเสนอแนะ ข้อพิพาทระหว่างคู่กรณี และแก้ไขปัญหาการละเมิด
รัฐสภา คณะรัฐมนตรีหรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง สิทธิมนุษยชน ไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
ควรพิจารณาสนับสนุนการแก้ไขพระราชบัญญัติ ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ให้ชัดเจน ซึ่งได้รับทราบจากส�านักเลขาธิการ
แห่งชาติ พ.ศ. 2560 โดยยกเลิกบทบัญญัติในมาตรา คณะรัฐมนตรีว่า ได้มีหนังสือไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
26 (4) เพื่อให้บทบาทหน้าที่ของ กสม. สอดคล้องกับ เพื่อให้ความเห็นเพิ่มเติม แต่เนื่องจากในบางประเด็น
หลักการปารีส มีหน่วยงานให้ความเห็นหลากหลายแนวทาง อยู่ระหว่าง
การสรุปความเห็นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก่อนเสนอ
5.2 ข้อจ�ากัดด้านกฎหมาย กรณีที่ คณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป
กสม. เห็นสมควรด�าเนินการ
ประนีประนอมข้อพิพาทด้าน ข้อเสนอแนะ
สิทธิมนุษยชน รัฐสภาและคณะรัฐมนตรีควรเร่งรัดการพิจารณาร่าง
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการ
พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่ กสม. เสนอ
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 บัญญัติให้ กสม. สามารถไกล่เกลี่ย เพื่อให้ กสม. มีหน้าที่และอ�านาจในการด�าเนินการให้คู่กรณี
ข้อพิพาทของคู่กรณีระหว่างการตรวจสอบการละเมิด ท�าความตกลงเพื่อประนีประนอมและแก้ไขปัญหา
สิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นแนวทางที่สอดคล้องกับหลักการ การละเมิดสิทธิมนุษยชน อันจะท�าให้การคุ้มครอง
ปารีส ที่ก�าหนดให้สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่มี ผู้ได้รับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
อ�านาจรับและพิจารณาเรื่องร้องเรียน สามารถยุติปัญหา เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ล่าช้าและสอดคล้องกับ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
ฉันมิตรผ่านกระบวนการไกล่เกลี่ยได้ หลักสากลต่อไป ในการด�าเนินงาน
อย่างไรก็ตาม พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ หาก กสม. ได้รับการสนับสนุนจากรัฐสภา
ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 คณะรัฐมนตรี และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ไข
ซึ่งใช้บังคับแทนพระราชบัญญัติคณะกรรมการ หน้าที่และอ�านาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มิได้บัญญัติหน้าที่ พุทธศักราช 2560 มาตรา 247 (4) และพระราชบัญญัติ บทที่
และอ�านาจในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของ กสม. ไว้ ท�าให้ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน 5
กสม. ไม่สามารถไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ เมื่อ กสม. แห่งชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 26 (4) รวมทั้งก�าหนดให้
รับเรื่องร้องเรียนไว้พิจารณาจึงต้องน�าเข้าสู่ขั้นตอน กสม. มีหน้าที่และอ�านาจในการด�าเนินการให้คู่กรณี
การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งกว่าจะสิ้นสุด ท�าความตกลงเพื่อประนีประนอมและแก้ไขปัญหา
กระบวนการอาจต้องใช้ระยะเวลาด�าเนินการนานกว่า การละเมิดสิทธิมนุษยชน จะท�าให้ กสม. สามารถปฏิบัติ
การยุติในรูปแบบการไกล่เกลี่ย ซึ่งสามารถแก้ไขปัญหา หน้าที่ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนได้อย่างรวดเร็ว
ให้กับผู้ร้องได้รวดเร็วและเป็นประโยชน์ต่อคู่กรณีทุกฝ่าย และมีประสิทธิภาพตามมาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติ
รวมถึงช่วยลดความขัดแย้งระหว่างคู่กรณีได้
91