Page 94 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 94
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน การด�าเนินการที่เกี่ยวข้อง
แห่งชาติ พ.ศ. 2560 รวมทั้งจะเป็นการสร้างความเชื่อมั่น การติดตามผลการด�าเนินการตามข้อเสนอแนะ
ต่อบทบาทของ กสม. ในระดับสากลตามนโยบาย ในรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
ของ กสม. ชุดปัจจุบัน ของประเทศไทย พบว่า คณะรัฐมนตรีและหน่วยงาน
ของรัฐที่เกี่ยวข้องได้แจ้งความเห็นต่อรายงานผล
5.3 ปัญหา อุปสรรค การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของ
ด้านการปฏิบัติหน้าที่ของ กสม. ประเทศไทยของ กสม. อย่างต่อเนื่อง แต่ส่วนใหญ่
เป็นการให้ความเห็นและค�าอธิบายเกี่ยวกับการด�าเนินการ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และผลด�าเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ มากกว่าการแจ้ง
มาตรา 247 (2) และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ผลการด�าเนินการตามข้อเสนอแนะในรายงานผล
ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน หรือเหตุผล
มาตรา 43 วรรคหนึ่ง บัญญัติให้ กสม. มีหน้าที่และ ที่ไม่อาจด�าเนินการได้หรือต้องใช้เวลา รวมทั้งบางแห่ง
รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
อ�านาจจัดท�ารายงานผลการประเมินสถานการณ์ ยังไม่ได้แจ้งผลด�าเนินการในบางหัวข้อ/ประเด็น
ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศเสนอต่อรัฐสภาและ
คณะรัฐมนตรี และเมื่อได้รับรายงานดังกล่าว ให้รัฐสภา ข้อเสนอแนะ
คณะรัฐมนตรี หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด�าเนินการ คณะรัฐมนตรีควรก�าชับให้ส่วนราชการและหน่วยงาน
ปรับปรุง แก้ไขตามความเหมาะสมโดยเร็ว กรณีไม่อาจ ของรัฐให้ความส�าคัญต่อการด�าเนินการตามข้อเสนอแนะ
ด�าเนินการได้ หรือต้องใช้เวลาในการด�าเนินการต้องแจ้ง ในรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
เหตุผลให้ กสม. รับทราบ กรณีไม่อาจด�าเนินการได้ หรือต้องใช้เวลาในการด�าเนินการ
ขอให้แจ้งเหตุผลต่อ กสม. ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 43
92