Page 92 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 92

ปัญหา อุปสรรค                                       5
                                   และข้อเสนอแนะ

                                   ในการด�าเนินงาน








                จากการด�าเนินงานตามหน้าที่และอ�านาจของ กสม. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 พบว่ามีปัญหา อุปสรรค
             และข้อจ�ากัดบางประการ จึงเห็นควรมีข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้


             5.1  หน้าที่และอ�านาจของ  กสม.   ของกรอบความร่วมมือกับพันธมิตรระดับโลกว่าด้วย

                   ในการชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริง  สถาบันสิทธิมนุษยชน (Global Alliance of National
       รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
                   ที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้า กรณีที่มี           Human Rights Institutions: GANHRI) ซึ่งได้รับ
                   การรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับ  ข้อสังเกตจากเครือข่ายองค์กรทั้งในประเทศและระหว่าง
                   สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย  ประเทศว่า หน้าที่และอ�านาจดังกล่าวไม่สอดคล้อง

                   โดยไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม  กับหลักการปารีสเนื่องจากอาจส่งผลกระทบต่อ
                   อันไม่สอดคล้องกับหน้าที่และ                ความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ทั้งที่อาจเกิดขึ้นจริง
                   อ�านาจของสถาบันสิทธิมนุษยชน                หรือที่เป็นการรับรู้ (actual or perceived impact on
                   แห่งชาติ ตามหลักการปารีส                   independence) ซึ่ง กสม. ได้มีการประสานความร่วมมือ

                                                              ในระดับต่าง ๆ ทั้งกับฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร
                รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560   เพื่อยกเลิกบทบัญญัติดังกล่าว
             มาตรา 247 (4) และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
             ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560  การด�าเนินการที่เกี่ยวข้อง

             มาตรา 26 (4) และมาตรา 44 บัญญัติให้ กสม. ชี้แจง     เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2565 กสม. ได้มีหนังสือยืนยัน
             และรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้าในกรณี  ขอแก้ไขร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
             ที่มีการรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
             ในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม เพื่อเผยแพร่  ต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา

             ให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไป ซึ่ง กสม. ได้เคยแสดง  โดยเห็นควรยกเลิกบทบัญญัติเกี่ยวกับหน้าที่และ
             ความกังวลต่อคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญในขณะนั้นว่า   อ�านาจของ กสม. ในการชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริง
             บทบัญญัติดังกล่าวอาจไม่สอดคล้องกับหลักความเป็น   ที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้าในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์
             อิสระในการปฏิบัติหน้าที่ของสถาบันสิทธิมนุษยชน  เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้อง

             แห่งชาติตามหลักการปารีส                          หรือไม่เป็นธรรม ตามมาตรา 26 (4) และมาตรา 44
                                                              แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
                ต่อมา กสม. ได้เข้ารับการประเมินเพื่อทบทวนสถานะ   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560
             (re-accreditation) กับคณะอนุกรรมาธิการประเมิน    ซึ่งได้รับทราบจากส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีว่า

             สถานะ (Sub-Committee on Accreditation: SCA)   ได้มีหนังสือไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ความเห็น
                                                         12


             12  เป็นคณะอนุกรรมการภายใต้กรอบความร่วมมือเครือข่ายพันธมิตรระดับโลกว่าด้วยสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (Global Alliance of National
               Human Rights Institutions: GANHRI) ซึ่งได้พิจารณาปรับลดสถานะของ กสม. จากสถานะ A เป็น B เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2558

       90
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97