Page 48 - แนวปฏิบัติเพื่อการจัดการร่วมประเด็นสิทธิมนุษยชน : สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการพัฒนารวมถึงสิทธิอื่นที่เกี่ยวข้อง
P. 48
48 สำ�นักงานคณะกรรมการสำิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
อ้างอิง : รายงานการศึกษาวิจำัยของ กสม.
ชื่อเรื่อง
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (๒๕๖๓). การศึกษาวิจัย
เพื่่อจัดท�าข้อเสนอแนะ มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ
คุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน.
คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม และคณะ. (๒๕๖๑). ความเชื่อมโยงระหว่างสิทธิชุมชน
กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายใต้รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐.
คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม และคณะ. (๒๕๕๙). ความสัมพันธ์ระหว่าง
สิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อมเพื่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน.
วารุณี ณ นคร และคณะ. (๒๕๖๐). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
(Participatory Action Research : PAR) เพื่อการแก้ไขปัญหา
การละเมิดสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ เรื่อง การเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิชุมชน
ของชุมชนประมงพื้นบ้านอ่าวปัตตานี.
ไพสิฐ พาณิชย์กุล และคณะ. (๒๕๖๐). สิทธิของชุมชนชาวกะเหรี่ยง
(ปกาเกอะญอ). กับการด�าเนินเขตวัฒนธรรมพิเศษไร่หมุนเวียน
ในพื้นที่ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาข้อพิพาทกรณีที่ดินและที่อยู่อาศัย
ของชุมชนกะเหรี่ยงในพื้นที่ป่าภาคเหนือ.
เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์ และคณะ. (๒๕๕๘). รายงานการศึกษาวิจัย
เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดิน
และป่าไม้.