Page 5 - หลักสูตรสิทธิมนุษยชนศึกษารายวิชาเฉพาะสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
P. 5
3
ยุติธรรมให้เกิดการเรียนรู้อย่างถูกต้อง เป็นระบบ ค้านึงถึงการมีส่วนร่วม ตลอดจนบริบทและวิธีการที่
หลากหลายและเหมาะสม อันจะช่วยส่งเสริมให้บุคลากรในกระบวนการยุติธรรมได้ตระหนักถึงความส้าคัญใน
การปฏิบัติงานโดยค้านึงนึงหลักสิทธิมนุษยชน หลักมนุษยธรรม หลักนิติธรรม และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
เพื่อประกันการเคารพและคุ้มครองสิทธิของพลเมือง ท้าให้เกิดธรรมาภิบาลและการปฏิบัติที่เท่าเทียมกันต่อ
ประชาชนทุกชนชั นในสังคม อันจะเป็นรากฐานในการสร้างวัฒนธรรมการเคารพสิทธิมนุษยชนให้เกิดแก่ใน
กระบวนการยุติธรรมได้อย่างมั่นคง ยั่งยืน น้ามาซึ่งความผาสุกของประชาชน สังคม และประเทศชาติ สืบไป
วัตถุประสงค์
หลักสูตรสิทธิมนุษยชนศึกษารายวิชาเฉพาะสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ประกอบด้วย ๕ รายวิชา
ได้แก่
๑. วิชา สถานการณ์สิทธิมนุษยชน
๒. วิชา สิทธิในกระบวนการยุติธรรมเฉพาะทาง
๓. วิชา ทักษะการปฏิบัติงานด้านสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมเฉพาะทาง
๔. วิชา วิเคราะห์และสัมมนาปัญหาพิเศษและกรณีศึกษาในเรื่องการละเมิด
สิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมเฉพาะทาง
๕. วิชา เทคนิคการเป็นวิทยากรกระบวนการด้านสิทธิมนุษยชน
ซึ่งผู้สอนสามารถน้าเอาโครงสร้างเนื อหาในแต่ละรายวิชาไปประยุกต์ในการเรียนการสอนที่เหมาะสม
ส้าหรับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมต่าง ๆ ทั ง ผู้พิพากษา อัยการ ทหาร ต้ารวจ
ราชทัณฑ์ ทนายความ ตลอดจนนักเรียนทหาร นักเรียนต้ารวจ และผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุก
หน่วยโดยสามารถใช้วิธีการเรียนการสอนที่หลากหลาย เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย เช่น
การบรรยาย การสัมมนากรณีศึกษาด้านสิทธิมนุษยชน การอภิปรายและแสดงความคิดเห็นการชมภาพยนตร์
วิดีโอ หรือ คลิปวิดีโอที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนและให้ร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้มีส่วน
ร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การท้างานกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย การแสดงบทบาทสมมุติ การเขียน
ความเรียง สถานการณ์จ้าลอง การฝึกปฏิบัติ เป็นต้น
ทั งนี เพื่อมุ่งหวังให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้านสิทธิมนุษยชนศึกษาอย่างเป็นระบบและครอบคลุม
โดยมุ่งให้ผู้เรียนเกิดความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน (Knowledge หรือ K) เกิดทักษะด้านสิทธิมนุษยชน (Skill หรือ
S) และทัศนคติด้านสิทธิมนุษยชน (Attitude หรือ A) ซึ่งผู้สอนควรท้าการประเมินผู้เรียนทั งก่อนการเข้าเรียน
ในระหว่างการเรียน และภายหลังการเรียน เช่น การท้าแบบทดสอบ (Pre-test, Quiz, Post-test)
การประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรม โดยการวิเคราะห์ สังเกต ความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้เรียน รวมถึง
การติดตามผลในภายหลัง โดยคาดหวังว่าเมื่อผู้เรียนได้ศึกษาหลักสูตรสิทธิมนุษยชนศึกษารายวิชาเฉพาะใน
กระบวนการยุติธรรมแล้วจะสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี
๑) ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรม และกลไก
การคุ้มครองเยียวยาสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้อง ตระหนักถึงความส้าคัญของการปฏิบัติหน้าที่เพื่อให้เกิดการ
เคารพสิทธิมนุษยชน และสามารถแก้ไขปัญหาสิทธิมนุษยชนเบื องต้นในการปฏิบัติงานได้
๒) ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการและวิธีปฏิบัติงานด้านกระบวนการยุติธรรมตามหลัก
สิทธิมนุษยชนและมาตรฐานสากล ตลอดจนกฎหมายภายในประเทศที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน สามารถ