Page 3 - หลักสูตรสิทธิมนุษยชนศึกษารายวิชาเฉพาะสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
P. 3
1
หลักการและเหตุผล
ทิศทางด้านสิทธิมนุษยชนศึกษาของโลกในช่วงที่ผ่านมา ได้เน้นย ้าถึงความส้าคัญของการ
ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนเพื่อให้ทุกคนได้เรียนรู้และเข้าใจร่วมกันในหลักการสิทธิมนุษยชนจนน้าไปสู่การยอมรับ
และเกิดวัฒนธรรมการเคารพสิทธิมนุษยชน โดยแผนงานด้านสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติส่วนใหญ่ล้วนให้
ความส้าคัญกับการส่งเสริมความรู้สิทธิมนุษยชนแก่บุคลากรกระบวนการยุติธรรม ไม่วาจะเป็นแผนงานระดับ
โลกส้าหรับสิทธิมนุษยชนศึกษาของส้านักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
(Word Programme of Human rights Education ) ปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชนศึกษา
และการฝึกอบรม ความส้าคัญดังกล่าวถูกเน้นย ้าในเชิงประจักษ์และเป็นที่เกี่ยวข้องมากขึ นตามข้อสังเกตต่อ
รายงานด้านสิทธิมนุษยชนของรัฐบาลไทยในเวทีระหว่างประเทศของคณะกรรมการประจ้าสนธิสัญญาสิทธิ
มนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ ได้แก่ คณะกรรมการว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและ
คณะกรรมการว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ตลอดจนข้อเสนอแนะจากนานาประเทศ
ในรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ภายใต้กลไก Universal Periodic Review
(UPR) รอบที่ ๒ ส่วนใหญ่ให้ความส้าคัญกับการส่งเสริมความรู้สิทธิมนุษยชนโดยมุ่งเน้นเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้
กฎหมายในกระแสธารกระบวนการยุติธรรม ทั ง ต้ารวจ ทหาร อัยการ หน่วยงานศาล ราชทัณฑ์ เป็นต้น อีกทั ง
ความส้าคัญของกระบวนการยุติธรรมยังเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนแห่งสหประชาชาติ ค.ศ.
๒๐๓๐ (Sustainable Development Goals–SDGs) ที่ถือเป็นวาระโลก ในการมุ่งเน้นสันติภาพ ความมั่นคง
สิทธิมนุษยชนและการปกครองที่มีประสิทธิภาพบนพื นฐานของหลักนิติธรรม (เป้าหมายการพัฒนาที่ ๑๖
สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก)
ความส้าคัญของสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมในระดับสากล สอดรับกับกฎหมาย
แนวนโยบาย และการปฏิบัติในประเทศ ตั งแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา
๔ ซึ่งให้ความคุ้มครองหลักการสิทธิมนุษยชนที่ว่าด้วยศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอ
ภาค ของบุคคล อีกทั งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)
ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลใน
สังคมไทย และยุทธศาสตร์ที่ ๑๐ ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา ก็ให้ความส้าคัญกับการปฏิรูป
กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมให้มีความทันสมัย เป็นธรรมและสอดคล้องกับข้อบังคับสากลหรือข้อตกลง
ระหว่างประเทศเพื่อคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างเสมอภาค โดยพัฒนากลไกการก้ากับดูแล
และส่งเสริมความรู้ความเข้าใจทางด้านกฎหมายและยกระดับมาตรฐานของประเทศไทยให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานและบรรทัดฐานสากลตามพันธกรณีระหว่างประเทศ สอดคล้องกับแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่
๓ (พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๑) ได้เน้นย ้าการปฏิบัติเพื่อเผยแพร่ให้ความรู้ด้านกฎหมายสิทธิมนุษยชนแก่บุคลากรใน
กระบวนการยุติธรรม มุ่งเน้นการพัฒนาหลักจริยธรรมของบุคลากรด้านกระบวนการยุติธรรม ได้แก่ ต้ารวจ
อัยการ ศาล ราชทัณฑ์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกหน่วย ส่งเสริมการท้างานด้านกระบวนการยุติธรรมที่ยึด
หลักนิติธรรม (Rule of Law) ส่งเสริมการใช้ธรรมาภิบาลในการบริหารงานด้านกระบวนยุติธรรม
ในทุกหน่วยงานและทุกระดับการปฏิบัติงาน การใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่ และส่งเสริม