Page 4 - หลักสูตรสิทธิมนุษยชนศึกษารายวิชาเฉพาะสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
P. 4
2
ความรู้ด้านกฎหมายและจริยธรรมที่ค้านึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์มากขึ น โดยผลักดันเรื่องดังกล่าวให้
ออกเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ นเพื่อให้การละเมิดสิทธิมนุษยชนลดลง
ส้าหรับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในฐานะสถาบันด้านสิทธิมนุษยชนระดับชาติ
ที่มีหน้าที่ส้าคัญในการส่งเสริมและให้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนตามหลักการปารีส และรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีหน้าที่และอ้านาจ
ส้าคัญประการหนึ่งตาม ตามมาตรา ๒๔๗ (๕) ในการสร้างเสริมทุกภาคส่วนของสังคมให้ตระหนักถึง
ความส้าคัญของสิทธิมนุษยชน และมีหน้าที่และอ้านาจตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๗ (๑) (๒) และ (๓) ในการส่งเสริม สนับสนุน และ
ร่วมมือแก่บุคคล หน่วยงานของรัฐ และภาคเอกชน ในการศึกษา วิจัย และเผยแพร่ความรู้และพัฒนาความ
เข้มแข็งด้านสิทธิมนุษยชนเพื่อให้เกิดการตระหนักถึงสิทธิ ได้ตระหนักถึงความส้าคัญของสิทธิมนุษยชนใน
กระบวนการยุติธรรม และด้าเนินการเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมให้แก่
เจ้าหน้าที่ในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมาโดยตลอด แต่จากการศึกษาสถิติการร้องเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ของส้านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตามรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
ของประเทศไทยปี ๒๕๕๙ พบว่ามีการร้องเรียนว่าถูกละเมิดสิทธิในกระบวนการยุติธรรมมากกว่าสิทธิ
มนุษยชนประเภทอื่น ๆ โดยตั งแต่ ปี ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ มีจ้านวนเรื่องร้องเรียน ๗๘๗ ค้าร้อง จากเรื่องร้องเรียน
ทั งหมด ๒,๔๗๘ ค้าร้อง คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๗๖ โดยประเด็นที่ร้องเรียนได้แก่ สิทธิผู้ต้องหา สิทธิผู้เสียหาย
สิทธิผู้ต้องขัง สิทธิในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และอื่น ๆ ซึ่งเกิดขึ นทั งในกระบวนการยุติธรรมต้นน ้า
กลางน ้า และปลายน ้า
จากเหตุผลที่กล่าวมา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจึงได้ด้าเนินการตามยุทธศาสตร์
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๕ และแผนส่งเสริมสิทธิมนุษยชนตามยุทธศาสตร์
ดังกล่าวในการพัฒนาหลักสูตรการเรียน การสอน ตลอดจนการฝึกอบรมด้านสิทธิมนุษยชน การศึกษา การ
ส้ารวจ การวิจัย การประเมินผล และการพัฒนาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนศึกษา รวมทั งการส่งเสริมและเสริมสร้าง
เครือข่ายสิทธิมนุษยชน และการเสริมสร้างกิจกรรมเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนศึกษา โดยด้าเนินการแต่งตั ง
คณะท้างานด้านส่งเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีหน้าที่และอ้านาจส้าคัญในการด้าเนินการพัฒนางาน
ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนตามแผนส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ตลอดจนด้าเนินการส่งเสริมการศึกษา และการเผยแพร่
ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน เพื่อส่งเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน ให้ความรู้ ความเข้าใจและสร้างเสริมทุกภาค
ส่วนของสังคมให้ตระหนักถึงความส้าคัญของสิทธิมนุษยชน ซึ่งคณะท้างานด้านส่งเสริมการเคารพสิทธิ
มนุษยชน ได้ด้าเนินการตามแผนส่งเสริมสิทธิมนุษยชน โดยมีการด้าเนินการอย่างมีส่วนร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิ
ด้านสิทธิมนุษยชนศึกษาในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผู้แทนสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ผู้แทนหน่วยงานรัฐด้านการศึกษาและกระบวนการยุติธรรม ได้แก่ ศาล อัยการ ราชทัณฑ์ ส้านักงานตรวจ
แห่งชาติ กรมพระธรรมนูญ กรมสอบสวนคดีพิเศษ โรงเรียนนายร้อยต้ารวจ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
เพื่อจัดท้าหลักสูตรสิทธิมนุษยชนศึกษารายวิชาเฉพาะในกระบวนการยุติธรรม โดยเล็งเห็นความส้าคัญและ
ความจ้าเป็นของสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมที่ควรต้องเร่งเผยแพร่แก่บุคลากรในกระบวนการ