Page 11 - หลักสูตรสิทธิมนุษยชนศึกษารายวิชาเฉพาะสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
P. 11
9
วิชาที่ ๒
ชื่อรายวิชา สิทธิในกระบวนการยุติธรรมเฉพาะทาง
กระบวนการ เนื้อหา / รายละเอียด
การปฏิบัติงานของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมในแต่ละหน่วยงาน
ศึกษาตัวอย่างหลักกฎหมายและกรณีศึกษาการปฏิบัติงานเพื่อคุ้มครองสิทธิ
มนุษยชนแก่ พยาน เหยื่อ และผู้กระท าผิด ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
ศึกษาหลักการและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความละเอียดอ่อนในเพศสภาวะใน
กระบวนการยุติธรรมเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ได้แก่ ศึกษา
หลักการในอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
(CEDAW)/ หลักการยอกยาการ์ต้า (Yogyakarta Principles) /
รัฐธรรมนูญ ๒๕๖๐ /พ.ร.บ.ส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ.
๒๕๕๘/ข้อก าหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงใน
เรือนจ าและมาตรการที่มิใช่การคุมขังส าหรับผู้กระท าความผิดที่เป็นหญิง
(ข้อก าหนดกรุงเทพฯ)
ศึกษาหลักการและกฎหมายที่คุ้มครองการกระท าความรุนแรงและสิทธิเด็ก
และเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
ได้แก่ ศึกษาหลักการในอนุสัญญาส่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) / ยุทธศาสตร์
ต้นแบบและมาตรการเชิงปฏิบัติของสหประชาชาติว่าด้วยการขจัดความ
รุนแรงต่อเด็กและสตรีในสาขาการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรม
ทางอาญา (UN EVAC /EVAW Model Strategies)
/พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.
๒๕๕๐ /พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดี
เยาวชนและครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๓ ฯลฯ
ศึกษาแนวทางการปฏิบัติงานขององค์กรที่เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่
ยั่งยืนขององค์การสหประชาติ (SDGs)
๔. วิธีการเรียนการ ๑) การบรรยาย
สอน ๒) สัมมนากรณีศึกษาด้านสิทธิมนุษยชน
๓) การอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
๔) การชมภาพยนตร์ วิดีโอ หรือ คลิปวิดีโอ ที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนและให้ร่วมกัน
แสดงความคิดเห็น
๕. ผู้บรรยาย/ ๑) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) /ผู้บริหารและผู้ทรงคุณวุฒิจาก
วิทยากร ส านักงาน กสม.
๒) ผู้บรรยาย/วิทยากรจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับการ