Page 11 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 11

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑


















































                                                                                                 ค�น�







          ที่ประชุมระดับโลกว่าด้วยสิทธิมนุษยชนเมื่อปี ๒๕๓๖ ที่กรุงเวียนนา ได้รับรองปฏิญญาเวียนนาและแผนปฏิบัติการ

          ด้านสิทธิมนุษยชน (Vienna Declaration and Programme of Action) หนึ่งในประเด็นที่ปรากฏในปฏิญญาเวียนนาฯ คือ
          การสนับสนุนให้ประเทศต่าง ๆ พิจารณาจัดตั้งสถาบันแห่งชาติตามแนวทางที่ปรากฏใน “หลักการว่าด้วยสถานะและหน้าที่
          ของสถาบันแห่งชาติเพื่อการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน (Principle relating to the status and functioning

          of national institution for protection and promotion of human rights)” หรือ “หลักการปารีส (The Paris
          Principles)”  ซึ่งเป็นเอกสารที่เกิดจากการประชุมทางวิชาการที่กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส เมื่อปี ๒๕๓๔ และต่อมา
          ได้รับการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United National General Assembly) ภายหลังจากที่มี
          การประชุมระดับโลกว่าด้วยสิทธิมนุษยชนในปี ๒๕๓๖ นับแต่นั้นมา หลักการปารีสมีผลต่อการพัฒนาและการก�าหนด
          ลักษณะหน้าที่และอ�านาจของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (National Human Rights Institution : NHRI) ซึ่งครอบคลุม

          ๕ ส่วนส�าคัญ คือ (๑) การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (protection function) และการท�าหน้าที่กึ่งตุลาการ (quasi-judicial
          function) (๒) การให้ค�าปรึกษาด้านสิทธิมนุษยชน (advisory function) (๓) การเฝ้าระวังสถานการณ์สิทธิมนุษยชน
          (monitoring function) (๔) การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน (promotional function) และ (๕) การท�างานร่วมกับผู้มีส่วนได้

          ส่วนเสียและองค์กรอื่น ๆ ทั้งภายในและต่างประเทศ (relationship with stakeholders and other bodies)




       10
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16