Page 74 - ข้อเสนอแนะการเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 74

ความรุนแรงในครอบครัว/               การละเมิดสตรีมุสลิมโดยเจ้าหน้าที่รัฐ
                     ระดับ
                                           ความรุนแรงทางเพศในชุมชน               (ฝ่ายพลเรือนและฝ่ายความมั่นคง)


                                 •  ศูนย์อ�านวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้(ศอ.บต.) มี   •  กอ.รมน.ภาค ๔ ส่วนหน้าจัดท�า
                                   ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการในการพัฒนาสถานภาพสตรี    แนวปฏิบัติของหน่วยงานทหารและ
                                   ชายแดนใต้เพื่อให้มั่นใจว่าผู้หญิงมุสลิมได้รับการคุ้มครองและ    บทลงโทษเจ้าหน้าที่ที่ละเมิดแสวงหา
                                   ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนตามมาตรฐานสากล  โดยให้รวม    ประโยชน์ทางเพศ
                                   การป้องกันแก้ไขความรุนแรงต่อผู้หญิง การเข้าถึงการศึกษาการ
                                   เข้าถึงการฝึกทักษะอาชีพ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
                                   ทางการเมืองและการบริหาร ก�าหนดให้มีสัดส่วนของผู้หญิงใน
                                   คณะกรรมการระดับชาติในการพัฒนาชายแดนใต้และด้านต่างๆ
                                   ที่เกี่ยวข้อง โดยให้มีความชัดเจนในระยะกลางและระยะยาว

                                 •  ศอ.บต. ตั้งฝ่าย/หน่วยงานย่อยเพื่อรับผิดชอบดูแลรับค�าร้อง
                                   เรื่องความรุนแรงทางเพศต่อผู้หญิงในจังหวัดชายแดนใต้ทั้ง
                                   ภายในครอบครัวและชุมชน และติดตามการละเมิดที่เกิดจาก
                                   เจ้าหน้าที่ของรัฐ ท�าหน้าที่รับเรื่องร้องเรียนกรณีการละเมิด

                                   สิทธิสตรี และความรุนแรงในครอบครัว และให้ความช่วยเหลือ
                                   เยียวยาเบื้องต้นโดยประสานงานกับฝ่ายสังคมสงเคราะห์และ
                                   เจ้าหน้าที่สหวิชาชีพ
                                 •  ให้ศูนย์ด�ารงธรรมเพิ่มกลไกรับเรื่องร้องเรียนความรุนแรงใน
                                   ครอบครัวและความรุนแรงทางเพศรวมทั้งให้ท�าหน้าที่ตรวจสอบ
                                   ข้อเท็จจริงในกระบวนการยุติธรรม ให้เกิดการประสานงาน
                                   ของสหวิชาชีพ คือ พนักงานสอบสวน โรงพยาบาล (ตรวจ
                                   ร่างกาย) ร่วมกันท�างานในขั้นตอนการสอบปากค�าเด็ก / ต�ารวจ

                                   ออกหมายจับผู้กระท�าผิด/อัยการส่งฟ้อง ให้ศาลพิพากษา
                                   ลงโทษ (โทษ ๔-๒๐ ปี + ปรับ) ให้สภาทนายความฟ้องร้อง
                                   ด�าเนินคดีเรียกค่าเสียหายแทนผู้หญิงและเด็ก จิตแพทย์ และ
                                   นักสังคมสงเคราะห์เข้าให้ความช่วยเหลือเยียวยาผลกระทบ
                                   ต่อจิตใจ
                                 •  ให้กลไกยุติธรรมในชุมชนตระหนักถึงปัญหาความรุนแรงรูปแบบ
                                   ต่างๆ ที่กระทบต่อผู้หญิง และรณรงค์กับผู้น�าชุมชนและผู้น�า
                                   ศาสนาเพื่อส่งเสริมให้ผู้หญิงและเด็กที่ประสบความรุนแรง
                                   ในรูปแบบต่างๆ ได้รับความคุ้มครองและเข้าถึงความยุติธรรม
                                   รวมทั้งรณรงค์กับเจ้าหน้าที่ต�ารวจในพื้นที่ให้ตระหนักถึง
                                   ความส�าคัญของการด�าเนินคดีทางอาญาและการให้ความช่วยเหลือ
                                   ผู้เสียหายในกระบวนการยุติธรรมทางการ















                                                  ข้อเสนอแนะ การเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้  63
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79