Page 73 - ข้อเสนอแนะการเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 73

ความรุนแรงในครอบครัว/               การละเมิดสตรีมุสลิมโดยเจ้าหน้าที่รัฐ
                    ระดับ
                                          ความรุนแรงทางเพศในชุมชน               (ฝ่ายพลเรือนและฝ่ายความมั่นคง)

               จังหวัดและ      •  กระทรวงมหาดไทยมีนโยบายมิให้กฎ/ระเบียบชุมชนที่ละเมิด   •  ศอ.บต. จัดท�าคู่มือทักษะวัฒนธรรม
               ประเทศ            สิทธิมนุษยชนของผู้หญิงและเด็ก ไม่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึง    หรือ ปรับปรุงเพิ่มเติมจากคู่มือของ

                 •  ฝ่ายปกครอง    ความยุติธรรมของผู้หญิง และประเมินผลกระทบของกฎ/    กอส. โดยเพิ่มเรื่องความอ่อนไหวของ
                 •  องค์กร       ระเบียบชุมชนที่มีต่อสิทธิและการเข้าถึงความยุติธรรมของ    พื้นที่ในกรณีสตรี เพื่อใช้ในการอบรม
                   ปกครอง        ผู้หญิง โดยเน้นศึกษาวัฒนธรรมและวิถีปฏิบัติในท้องถิ่น    เจ้าหน้าที่ของรัฐทั้งฝ่ายพลเรือนและ
                   ส่วนท้องถิ่น     ตามหลักอิสลาม                                ฝ่ายความมั่นคงที่ย้ายเข้ามาประจ�า
                 •  หน่วยงาน   •  กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.)    การในจังหวัดชายแดนภาคใต้
                   ราชการ        จัดตั้งฝ่ายกิจการสตรีในจังหวัดชายแดนใต้โดยให้การสนับสนุน   •  กองอ�านวยการร่วมรักษาความมั่นคง
                 •  ภาคประชา     องค์กรสตรีมุสลิมให้เข้ามามีส่วนร่วมในการรณรงค์ยุติ    ภายใน (กอ.รมน.) ภาค ๔ ส่วนหน้า
                   สังคม         ความรุนแรงต่อเด็กและสตรี สนับสนุนงบประมาณในการสร้าง    และ ศชต. มีหน่วยงาน/ฝ่ายรับเรื่อง
                                 เครือข่ายและการท�างานของภาคประชาสังคมในจังหวัดชายแดนใต้    ร้องเรียน เรื่องการละเมิดสิทธิผู้หญิง

                               •  พม. สนับสนุนการเพิ่มกลไกระดับอ�าเภอเพื่อรับเรื่องร้องเรียน     ที่เกี่ยวข้องกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายความั่นคง
                                 และให้ความช่วยเหลือแก่ผู้หญิงโดยมีสถานที่ดูแล/ศูนย์ให้   •  กอ.รมน.ภาค ๔ ส่วนหน้าจัดอบรม

                                 ค�าปรึกษาผู้ได้รับผลกระทบระดับอ�าเภอ “Help Center” แบบ     ทหารเรื่องแนวปฏิบัติตัวในชุมชน
                                 One-Stop Service ประจ�าชุมชน สถานที่ดูแล/ศูนย์ดังกล่าว    ทักษะวัฒนธรรมที่รวมเรื่องความ
                                 ต้องได้รับการสนับสนุนจากผู้น�าทางการและผู้น�าศาสนาคณะ    สัมพันธ์ชายหญิงในชุมชน รวมทั้งเข้ม
                                 ท�างานในศูนย์ One-Stop Service ประกอบด้วย ผู้น�าชุมชน     งวดกวดขันความประพฤติของผู้ที่จะ
                                 ผู้น�าศาสนา โรงพยาบาล พัฒนาสังคมและความมั่นคงของ    มาปฏิบัติงานในท้องถิ่น ไม่ปล่อย
                                 มนุษย์จังหวัด โดยให้มีสัดส่วนของสตรีอย่างเหมาะสมให้    ให้ผู้กระท�าผิดต่อผู้หญิงในท้องถิ่น
                                 ค�าปรึกษา/ช่วยเหลือเบื้องต้นเพื่อชี้ให้เห็นทางเลือกที่หลากหลาย    ลอยนวล
                                 ในการแก้ไขปัญหาให้กับผู้หญิง ท�าหน้าที่กระจายข่าวสาร

                                 ข้อมูลความรู้แก่ผู้หญิงและเด็ก โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น
                                 ผู้อ�านวยการบริหาร
                               •  พม.ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ให้ความรู้และงบประมาณสนับสนุน
                                 การจัดอบรมแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและอาสาสมัครชุมชน รวมทั้ง
                                 การเผยแพร่คู่มือเรื่องแนวทางปฏิบัติทักษะวัฒนธรรมแก่
                                 เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป
                               •  กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) บูรณาการแผน
                                 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสถานภาพสตรีจังหวัดชายแดนภาคใต้
                                 เข้าในแผนพัฒนาสตรีระดับชาติ ระยะ ๕ ปี/ระยะยาว และ
                                 ก�าหนดนโยบายการส่งเสริมการเข้าถึงความยุติธรรมและการ
                                 คุ้มครองสิทธิมนุษยชนของผู้หญิงส�าหรับจังหวัดชายแดนภาคใต้

















                62     ข้อเสนอแนะ การเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78