Page 329 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 329

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)

               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562

               ส่งเสริมให้มีคลังข้อมูลที่รวบรวมหลักปฏิบัติที่ดีในประเด็นต่างๆ เช่น กรณีศึกษา การบริหารความสัมพันธ์
               ภายในห่วงโซ่อุปทานการผลิต การจัดท า auditing  system  และรายงานประจ าปี นอกจากนี้ควรส่งเสริมให้
               ภาคเอกชนจัดท า KPI ของตนเองขึ้น) กลยุทธ์ที่ 14 (การสร้างความตระหนักรู้แก่กลุ่มที่เสี่ยงต่อการถูกละเมิด
               และสาธารณชนทั่วไป) กลยุทธ์ที่ 4 (การสนับสนุนเชิงเทคนิคและการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐ
               (เช่น การให้ความรู้ในกระบวนการเยียวยาของศาลและภาครัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การผลักดันแก้ไขปัญหาข้าม

               พรมแดน และการผลักดันเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาเพิ่มเติม)) กลยุทธ์ที่ 8 (การผลักดันการเผยแพร่คู่มือ HRDD
               ในภาคปฏิบัติ) กลยุทธ์ที่ 2 (การประมวลข้อสรุปจากเรื่องร้องเรียนออกมาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย) และ
               กลยุทธ์ที่ 12 (การผลักดันกลไกการไกล่เกลี่ยนอกศาลในกระบวนการแก้ไขข้อพิพาทเพื่อให้ผู้เสียหายได้เข้าถึง

               ความเป็นธรรมอย่างรวดเร็ว ไม่แพง และเป็นที่พอใจ แต่มิได้ตัดสิทธิในการที่จะไปฟ้องร้องในกระบวนการ
               ยุติธรรม)

                       และส าหรับปีสุดท้ายนั้นจะเป็นปีที่ กสม. จะมุ่งเน้นไปที่การสร้างความตระหนักรู้เชิงนโยบายเพื่อให้

               ทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจมีความรู้และเข้าใจ และสามารถน าไป
               ปฏิบัติเพื่อคุ้มครอง เคารพและเยียวยาการละเมิดสิทธิมนุษยชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้แล้ว กสม.
               จะต้องสร้างเครือข่ายภายในปีที่ 3 อันเป็นผลสืบเนื่องจากปีที่ 2 ที่ได้มีการสร้างภาพลักษณ์ กสม. ขึ้นมาใหม่
               ท าให้เป็นที่รู้จักและแพร่หลายมากขึ้น กสม. จึงเหมาะที่จะสร้างเครือข่ายในปีนี้เพื่อประสานความร่วมมืออย่าง

               ยั่งยืนและขับเคลื่อนประเด็นดังกล่าวอย่างมีพลังต่อไป ทั้งนี้ มีแผนกลยุทธ์ทั้งหมด 5 กลยุทธ์ที่ กสม. ควรจะ
               ด าเนินการภายในปีที่ 3 ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 19 (การผลักดันแผนกลยุทธ์ขององค์กรให้น าไปใช้เพื่อสนับสนุนการ
               ด าเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจ โดย กสม. ควรที่จะปรับสมดุลภาพลักษณ์ขององค์กรให้
               ท างานในเชิงส่งเสริมมากขึ้น) กลยุทธ์ที่ 4 (การสนับสนุนเชิงเทคนิคและการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงาน

               ภาครัฐ (เช่น การให้ความรู้ในกระบวนการเยียวยาของศาลและภาครัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การผลักดันแก้ไข
               ปัญหาข้ามพรมแดน และการผลักดันเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาเพิ่มเติม)) กลยุทธ์ที่ 8 (การผลักดันการเผยแพร่
               คู่มือ HRDD ในภาคปฏิบัติ) กลยุทธ์ที่ 9 (การให้ค าแนะน าทางเทคนิคว่าด้วยการจัดท ารายงานประจ าปี รวมทั้ง
               ส่งเสริมให้บริษัทจัดตั้งกลไกในการขับเคลื่อนภายในองค์กรเพื่อด าเนินงานตามนโยบายของบริษัท เช่น การ

               จัดตั้งคณะกรรมการสนับสนุนมาตรฐานแรงงาน) และกลยุทธ์ที่ 13 (การร่วมมือกับองค์กร หรือสถาบัน
               ตรวจสอบที่ได้รับการยอมรับในสังคมเพื่อสนับสนุนกลไกเกี่ยวกับปัญหาการประกอบธุรกิจและสิทธิมนุษยชน
               รวมถึงการให้แรงจูงใจที่เหมาะสม)


                       ในการจัดอันดับด าเนินการตามแผนกลยุทธ์ทั้ง 25 ข้อดังกล่าวตามช่วงของแผนออกเป็น 3 ปีนั้น ได้
               แยกออกเป็นระดับ/ประเภทของกลุ่มเป้าหมายที่มีพื้นฐานและความต้องการ (needs)  ที่แตกต่างกัน
               นอกจากนี้แล้วคณะผู้วิจัยยังเห็นเพิ่มเติมอีกว่า กสม. จ าเป็นต้องสร้างความเข้มแข็งให้กับบุคลากรและสร้าง

               องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องและเป็นรูปธรรม เช่น คู่มือ บทเรียน checklist  ต่างๆ ที่สามารถสนับสนุนให้ภาคส่วน
               ต่างๆ โดยเฉพาะภาคธุรกิจน าไปประยุกต์ใช้ได้ ทั้งนี้ ความรู้ที่เป็นรูปธรรมที่ได้จากการปฏิบัติงานจริงจะมี
               ความส าคัญ และโดยที่ประเด็นสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจเป็นเรื่องใหม่ทั้งในสังคมไทยและใน
               ประชาคมระหว่างประเทศ การแปลงหลักการเพื่อให้สามารถน าไปปฏิบัติได้จริงและเหมาะสมกับบริบทของ
               ประเทศ รวมถึงภาคธุรกิจที่มีความแตกต่างกัน ตลอดจนสภาพปัญหาหรือข้อจ ากัดที่เกิดขึ้นนั้น จ าเป็นต้อง

               อาศัยข้อมูล ความรู้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์และน าไปแก้ไขพัฒนาให้ดีขึ้น แล้วน าไปปฏิบัติและพัฒนาต่อไป
               อย่างต่อเนื่องเป็นระบบ (research and development to development and research: R&D to D&R)
               มากกว่าที่จะจัดกิจกรรมเป็นเรื่องๆ เพราะจะไม่ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่างยั่งยืน




                                                           5-81
   324   325   326   327   328   329   330   331   332   333   334