Page 308 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 308

การจัดล าดับความส าคัญของแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน ของ กสม. พ.ศ.2560-2562
                                        แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของ กสม.                      ระดับความส าคัญของแผนจากการประเมินมิติต่างๆ (ระดับคะแนนตั้งแต่ 1-5)
                                                    พ.ศ.2560-2562                                      มิติความส าคัญ  มิติพื้นฐานใน  มิติริเริ่มส่งผล  ผลจากการจัด  คะแนนเฉลี่ย
                                                                                                       ของผลกระทบ   การพัฒนาอื่นๆ   ส าเร็จเร็ว   ประชุม
               กลยุทธ์ที่ 1: การให้ค าปรึกษาในการจัดท าแผน NAP                                           4.67       3.33       2.00       4.33       3.83


               กลยุทธ์ที่ 2: การประมวลข้อสรุปจากเรื่องร้องเรียนออกมาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย             4.00       4.00       2.00       4.60       3.96

               กลยุทธ์ที่ 3: การตรวจสอบประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนเฉพาะเรื่องจากภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ (เช่น โครงการขนาด  4.67   4.00   3.00   4.42      4.15
               ใหญ่ การแย่งชิงฐานทรัพยากร การท าลายสิ่งแวดล้อม) การตรวจสอบผลการด าเนินงานของภาครัฐ (เช่น ภาครัฐมี
               กลไกการคุ้มครองและเยียวยาในทางปฏิบัติเป็นอย่างไร) และตรวจสอบกลไกการตรวจสอบของภาครัฐ (เช่น
               หน่วยงานควบคุมรัฐวิสาหกิจว่ามีการด าเนินงานอย่างไร)
               กลยุทธ์ที่ 4: การสนับสนุนเชิงเทคนิคและการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐ (เช่น การให้ความรู้ใน  4.33   4.00   3.33       4.39       4.14
               กระบวนการเยียวยาของศาลและภาครัฐอื่นๆที่เกี่ยวข้อง การผลักดันแก้ไขปัญหาข้ามพรมแดน และการผลักดันเข้า
               เป็นภาคีอนุสัญญาเพิ่มเติม)
               กลยุทธ์ที่ 5: การสนับสนุนการเชื่อมโยงแผนต่างๆ ของประเทศให้มีประเด็นสิทธิมนุษยชนให้เด่นชัดมากขึ้น   4.33   3.33   2.67      4.39       3.91


               กลยุทธ์ที่ 6: การให้ข้อเสนอเชิงนโยบาย หรือปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน  5.00   4.67   1.33   4.44    4.05
               ที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ (เช่น การให้มีกฎหมาย Anti SLAPP การให้มีการคุ้มครองผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชนหรือผู้ให้
               ข้อมูล (whistle blower) และการสนับสนุนให้ท า RIA)
               กลยุทธ์ที่ 7: การสนับสนุนการสร้างความตระหนักรู้ด้านสิทธิมนุษยชนกับการประกอบธุรกิจ (CSR เป็นจุดเริ่มที่ดีแต่ยัง  4.00   3.00   3.67   4.58   4.06
               ไม่เพียงพอ) รวมไปถึงความส าคัญของการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานการผลิตที่เคารพสิทธิมนุษยชน
               กลยุทธ์ที่ 8: การผลักดันการเผยแพร่คู่มือ HRDD ในภาคปฏิบัติ                                4.00       3.33       3.67       4.51       4.08

               กลยุทธ์ที่ 9: การให้ค าแนะน าทางเทคนิคว่าด้วยการจัดท ารายงานประจ าปี รวมทั้งส่งเสริมให้บริษัทจัดตั้งกลไกในการ  3.67   3.33   3.00   4.18   3.75
               ขับเคลื่อนภายในองค์กรเพื่อด าเนินงานตามนโยบายของบริษัท เช่น การจัดตั้งคณะกรรมการสนับสนุนมาตรฐาน
               แรงงาน
               กลยุทธ์ที่ 10: การจัดท าฐานข้อมูลการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยภาคเอกชน เพื่อน าไปสู่การถอดบทเรียนว่าประเด็น  3.67   4.67   3.00   4.50     4.14
               ร่วม (common issue) ของธุรกิจแต่ละสาขา และจัดท าข้อเสนอแนะกับภาคเอกชนถึงแนวทางการปฏิบัติที่ดี





                                                                                    5-69
   303   304   305   306   307   308   309   310   311   312   313