Page 22 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 22

สหประชาชาติ คือ คณะมนตรีสิทธิมนุษยชน (Human Rights    (ICC Subcommittee on Accreditation – SCA)  ได้ก�าหนดให้
               Council) และกลไกตามสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน  มีการประเมินสถานะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของ
               ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตามจ�านวน ๗ ฉบับ   ประเทศไทย ในช่วงเดือนตุลาคม ๒๕๕๗
               รวมทั้งการประสานความร่วมมือกับสถาบันสิทธิมนุษยชนระดับชาติ
               ของประเทศต่าง ๆ ภายใต้กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศด้าน  จากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
               สิทธิมนุษยชนในระดับภูมิภาคและระดับสากล จึงจ�าเป็นอย่างยิ่ง  แห่งชาติ จึงได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ เมื่อวันพุธ
               ที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต้องให้ความส�าคัญกับการ  ที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๗ ให้ปรับแผนยุทธศาสตร์คณะกรรมการ
               ท�าหน้าที่และแสดงบทบาทในเวทีระหว่างประเทศ เพื่อให้ได้รับ  สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๙ ให้มีความเหมาะสม
               การยอมรับและความเชื่อมั่นจากนานาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง   สอดคล้องกับสถานการณ์และสภาพการด�าเนินงานในปัจจุบันยิ่งขึ้น
               กรอบความร่วมมือสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติภายใต้คณะมนตรี   ทั้งนี้ ยังคงวิสัยทัศน์และพันธกิจที่ก�าหนดไว้เดิม โดยปรับในส่วนของ
               สิทธิมนุษยชน และคณะกรรมการประสานงานระหว่างประเทศ   เป้าประสงค์และยุทธศาสตร์เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจ จากเดิม
               ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (International Coordinating    ประกอบด้วย ๕ เป้าประสงค์ ๑๑ ยุทธศาสตร์ เป็น ๒ เป้าประสงค์ ๕
               Committee of National Human Rights Institutions – ICC) ซึ่ง  ยุทธศาสตร์ และ ๙ กลยุทธ์ เพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางการด�าเนินงานใน
               จะมีการประเมินและทบทวนสถานะของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่ง  ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ รายละเอียดตามแผนภาพที่ ๔
               ชาติในด้านต่าง ๆ ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการประเมินสถานะ ภายใต้ ICC

               แผนภาพที่ ๔  แผนยุทธศาสตร์ กสม. ปี ๒๕๕๔ – ๒๕๕๙ (การปรับครั้งที่ ๒ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘)


                                   แผนยุทธศาสตร กสม. ป ๒๕๕๔ - ๒๕๕๙ (การปรับครั้งที่ ๒ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘)



                                           เปาประสงคที่ ๑                    เปาประสงคที่ ๒
                                           ประชาชนเขาใจ                   เปนองคกรนำในการขับเคลื่อน
                                           เขาถึงและไดรับ                 งานดานสิทธิมนุษยชนตาม
                                          การสงเสริมปกปอง
                                           และคุมครองสิทธิ                 พันธกรณีระหวางประเทศ

                     ยุทศาสตรที่ ๔                              ยุทศาสตรที่ ๑
                    พัฒนาศักยภาพและ                             พัฒนาระบบบริหาร
                     สรางการมีสวนรวม                          และสรางความ
                     ของกลุมเปาหมาย                           เขมแข็งขององคกร
                     และพื้นที่เปาหมาย                                                    ยุทศาสตรที่ ๕
                                      ยุทศาสตรที่ ๓  ยุทศาสตรที่ ๒                      แสดงบทบาทนำและ
                                  เสนอแนะนโยบาย กฎหมาย  ระดมพลัง                         สรางบรรทัดฐานดาน
                                  และมาตรการที่มีประสิทธิภาพ  ภาคีเครือขาย                สิทธิมนุษยชน
                                  และประสิทธิผลในการสงเสริม
                                     ปกปองและคุมครอง
                                      สิทธิมนุษยชน






                  กลยุทธ           กลยุทธ           กลยุทธ          กลยุทธ           กลยุทธ
                  ๑. พัฒนาความรูความเขาใจ  ๑. ขับเคลื่อนนโยบาย กฎหมาย ๑. สงเสริม สนับสนุน ประสาน ๑. พัฒนาระบบ กลไก   ๑. ติดตาม ตรวจสอบ
                      สิทธิมนุษยชนในกลุมเปาหมาย     และมาตรการที่สงผลกระทบ     ความรวมมือและสรางการ      กระบวนการทำงาน      การปฏิบัติตามหลักการ
                      สำคัญ และพื้นที่เปาหมาย      ตอสังคม      มีสวนรวมของเครือขาย      และบุคลากรเพื่อการสงเสริม      และพันธกรณีระหวาง
                  ๒. สรางกลไก กระบวนการ  ๒. จัดทำกลไกและมาตรการให      ทั้งในและระหวางประเทศ      ปกปองและคุมครองสิทธิ      ประเทศดานสิทธิมนุษยชน
                      เฝาระวัง ระบบการตรวจสอบ     ภาคธุรกิจเคารพสิทธิมนุษยชน  ๒. สงเสริมและสนับสนุนการวิจัย ๒. แสดงบทบาทหนาและ
                      ตลอดจนระบบการคุมครอง                                เพื่อพัฒนามาตรการและ      สรางบรรทัดฐาน
                      สิทธิในกลุมเสี่ยงและพื้นที่                         เครื่องมือในการสงเสริม       ดานสิทธิมนุษยชน
                      เสี่ยงตอการถูกละเมิดที่มี                           ปกปองและคุมครอง
                      ประสิทธิภาพ                                          สิทธิมนุษยชน
                     นอกจากนี้ กสม. ได้ปรับการแก้ไขปัญหาเชิงประเด็นหลักจากเดิม ๕ ประเด็นหลัก เป็น ๔ ประเด็นหลัก ได้แก่ (๑) สิทธิมนุษยชนใน  บทที่ ๑ : ข้อมูลพื้นฐาน
               กระบวนการยุติธรรม (๒) สิทธิมนุษยชนกับการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติอย่างเป็นธรรม (๓) สิทธิมนุษยชนในกลุ่มผู้เสี่ยงต่อการถูกละเมิดหรือ
               ได้รับการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม และ (๔) สิทธิมนุษยชนกับบทบาทภาคธุรกิจพื้นที่ ส่วนพื้นที่จุดเน้นการด�าเนินงานยังก�าหนด ๑ พื้นที่เช่นเดิม คือ
               พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้


                              รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘  21  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27