Page 20 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 20

๓.๓ อัตราก�าลัง


                   ส�านักงาน กสม. มีบุคลากรปฏิบัติหน้าที่ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๘ จ�าแนกประเภทบุคลากร  ดังนี้



                                           ประเภทบุคลากร                                   จ�านวน (คน)

                    ข้าราชการ                                                                 ๑๓๑
                    พนักงานราชการ                                                             ๕๙
                    พนักงานจ้างเหมาบริการ                                                     ๔๗

                    ผู้ช่วยปฏิบัติงาน กสม.                                                     ๖
                    รวมทั้งสิ้น                                                               ๒๔๓




             ส่วนที่ ๔ แผนยุทธศาสตร์คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

                   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๒ ได้ก�าหนดแผนยุทธศาสตร์คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๙ เพื่อ
             เป็นกรอบทิศทางการด�าเนินงานตามอ�านาจหน้าที่ที่ก�าหนดไว้ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และพระราชบัญญัติ
             คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกอบด้วย เป้าประสงค์ ๔ ด้าน ยุทธศาสตร์ ๙ ยุทธศาสตร์ รายละเอียดตามแผนภาพที่ ๒ ดังนี้



             แผนภาพที่ ๒  แผนยุทธศาสตร์คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๙


                                                          ๑.       ยุทธศาสตร
                                                       กสม. เปน   ๑. พัฒนาศักยภาพ สมรรถนะ แรงบันดาลใจ
                    ยุทธศาสตร                        สถาบันที่ไดรับ      ขวัญกำลังใจของบุคลากร
                    ๑. สรางความรูความเขาใจ ความตระหนัก  การยอมรับ  ๒. พัฒนากลไก ระบบตาง ๆ และกระบวนการทำงาน
                        และคานิยมดานสิทธิมนุษยชน                 ๓. การดำเนินงานใหเปนที่ยอมรับทางสากล
                    ๒. การมีกลไกและกระบวนการในการเฝาระวัง
                        ตรวจสอบ การเขาถึงสิทธิการคุมครองสิทธิ
                        ในพื้นที่เสี่ยง
                    ๓. พัฒนาการสื่อสารสาธารณะเพื่อสังคม
                                     ๔.
                                 ใหประชาชน          เปาประสงคเพื่อ           ๒.
                                  เขาถึงการ        การบรรลุวิสัยทัศน      ระดมพลังภาคี
                                 คุมครองสิทธิ         ๔ ประการ               เครือขาย


                                                                           ยุทธศาสตร
                                                                           ๑. พัฒนาเครืองขายภาคี สนับสนุนการดำเนินงาน
                                                                               และความเขมแข็งของภาคีเครือขายใหเปน
                                                                               strategic partners
                                                          ๓.
                           ยุทธศาสตร
                           ๑. ทำงานเชิงรุกในการใชอำนาจตาม  เสนอนโยบาย/
                               รัฐธรรมนูญและกฎหมาย   กฎหมาย/ สราง
                           ๒. ผลักดันนโยบาย และสรางบรรทัดฐาน  บรรทัดฐาน
                               ทางสังคมในเรื่องสิทธิมนุยชน  ทางสังคม


                   นอกจากนี้ กสม. ยังได้ให้ความส�าคัญในการด�าเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนเชิงประเด็น ๕ ประเด็น ได้แก่ (๑) สิทธิมนุษยชน
             ในกระบวนการยุติธรรม (๒) สิทธิชุมชนกับการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติอย่างเป็นธรรม (๓) สิทธิมนุษยชนในกลุ่มผู้เสี่ยงต่อการถูกละเมิด  บทที่ ๑ : ข้อมูลพื้นฐาน
             หรือได้รับการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม (๔) สิทธิมนุษยชนกับบทบาทภาคธุรกิจ และ (๕) สิทธิมนุษยชนกับการใช้หลักขันติธรรม รวมทั้งพื้นที่จุดเน้น
             การด�าเนินงาน ๑ พื้นที่ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้




                              รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘  19  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25