Page 16 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 16

สืบเนื่องจากประกาศคณะรักษาความสงบ
             แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม
             ๒๕๕๗  เรื่อง  การสิ้นสุดของรัฐธรรมนูญ
             แห่งราชอาณาจักรไทย ก�าหนดให้รัฐธรรมนูญ
             แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลง
             ยกเว้นหมวด ๒ และให้องค์กรอิสระ องค์กรอื่น
             ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
             ๒๕๕๐ ยังคงปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ท�าให้ กสม. ชุดที่ ๒
             ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในขณะนั้นยังคงปฏิบัติหน้าที่ต่อไป
             ทั้งนี้ กสม. ชุดที่ ๒ ครบวาระการด�ารงต�าแหน่ง
             เมื่อวันที่  ๒๔  มิถุนายน  ๒๕๕๘  แต่เนื่องจาก
             กระบวนการการสรรหา กสม. ชุดที่ ๓ ยังด�าเนินการไม่
             แล้วเสร็จ ท�าให้ กสม. ชุดที่ ๒ ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะ
             มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง กสม. ชุดที่ ๓
             ต่อมา ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง กสม. ชุดที่ ๓ เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ และ กสม. ชุดที่ ๓
             ได้เข้ารับหน้าที่เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ โดยมีวาระการด�ารงต�าแหน่ง ๖ ปี นับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง ด�ารงต�าแหน่ง
             ได้เพียงวาระเดียว และจะครบวาระการด�ารงต�าแหน่งในวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๔




                   ๑.๒ อ�านาจหน้าที่


                   พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
             พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ ได้บัญญัติอ�านาจหน้าที่ของ กสม. ไว้ ดังนี้
                   ๑. ส่งเสริมการเคารพและการปฏิบัติตามหลัก            ๕. ส่งเสริมความร่วมมือและการประสานงานระหว่าง
                       สิทธิมนุษยชนทั้งในระดับประเทศและระหว่าง           หน่วยราชการ องค์การเอกชน และองค์การอื่นใด
                       ประเทศ                                            ด้านสิทธิมนุษยชน
                   ๒. ตรวจสอบและรายงานการกระท�าหรือการละเลย           ๖. จัดท�ารายงานประจ�าปีเพื่อประเมินสถานการณ์ด้าน
                       การกระท�าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือ        สิทธิมนุษยชนภายในประเทศเสนอต่อรัฐสภาและ
                       อันไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับ     คณะรัฐมนตรี และเปิดเผยต่อสาธารณชน
                       สิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี และเสนอมาตรการ  ๗. ประเมินผลและจัดท�ารายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี
                       การแก้ไขที่เหมาะสมต่อบุคคลหรือหน่วยงานที่กระท�า   ต่อรัฐสภา
                       หรือละเลยการกระท�าดังกล่าว เพื่อด�าเนินการในกรณีที่  ๘. เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาในกรณี
                       ปรากฏว่าไม่มีการด�าเนินการตามที่เสนอให้รายงานต่อ  ที่ประเทศไทยจะเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญาเกี่ยวกับ
                       รัฐสภาเพื่อด�าเนินการต่อไป                        การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
                   ๓. เสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุง            ๙. แต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการ
                       กฎหมาย  กฎ  หรือข้อบังคับต่อรัฐสภาและ             มอบหมาย
                       คณะรัฐมนตรีเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน  ๑๐. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ก�าหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
                   ๔. ส่งเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพร่ความรู้     หรือกฎหมายอื่นซึ่งก�าหนดให้เป็นอ�านาจหน้าที่ของ
                       ด้านสิทธิมนุษยชน                                  คณะกรรมการ                                  บทที่ ๑ : ข้อมูลพื้นฐาน
















                              รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘  15  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21