Page 107 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
P. 107
๓ ได้ใช้เวลาในการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเป็น
ในการเก็บข้อมูลภาคสนาม ทางทีมวิจัย
เวลา ๕ เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.
๒๕๕๔ ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยก�าหนด
พื้นที่ในการเก็บข้อมูลใน ๔ พื้นที่ที่เป็นเขต
เมือง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล ได้แก่
นนทบุรี นครปฐม และชนบท ได้แก่ เพชรบุรี
ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวมีประชากรกลุ่ม
ผลการวิจัย เป้าหมาย และมีบริบทที่สามารถให้ภาพตัวแทน
ภาคสนาม ในการสะท้อนปัญหา ตลอดจนเป็นพื้นที่ที่มี
เครือข่ายการท�างานแก้ไขปัญหาเยาวชนหญิง
ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อมอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งวิธีในการ
เก็บข้อมูลการวิจัยภาคสนามมีทั้งการสัมภาษณ์
เชิงลึก (In-Depth Interviews) กับกลุ่มเยาวชน
หญิงที่ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม โดยแบ่งเป็นกลุ่ม
เยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ต่อและยุติการตั้งครรภ์
จ�านวน ๓๒ คน กลุ่มเยาวชนชายทั่วไปที่ยัง
ไม่ได้แต่งงาน โดยไม่จ�าเป็นว่าจะมีประสบการณ์
ทางเพศแล้วหรือไม่ กลุ่มผู้ปกครองของ
เยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม และกลุ่ม
เจ้าหน้าที่ขององค์กรพัฒนาเอกชน ครู/อาจารย์
และเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล และการสนทนา
กลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) ในกลุ่ม
เยาวชนชายจ�านวน ๔ กลุ่มใน ๔ พื้นที่ และ
จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม ทีมวิจัยได้ผล
การวิจัยดังต่อไปนี้