Page 268 - ตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยเป็นภาคี : จากเว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ
P. 268
22
พิจารณาจัดเตรียมรายงานโดยกระบวนการที่เปดดกว้างและโปร่งใส และให้ค านึงถึงข้อบัญญัติที่ก าหนดไว้
ใน ข้อ 4 วรรค 3 ของอนุสัญญานี้
5. รายงานอาจระบุปัจจัยและความยากล าบากซึ่งกระทบต่อระดับความส าเร็จที่ท าให้ไม่สามารถ
ปฏิบัติตามพันธกรณีภายใต้อนุสัญญานี้
ข้อ 36
การพิจารณารายงาน
1. รายงานแต่ละฉบับจะได้รับการพิจารณาโดยคณะกรรมการ ซึ่งจะให้ข้อเสนอแนะและ
ข้อแนะน าทั่วไปเกี่ยวกับรายงานตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร และจะส่งต่อไปยังรัฐภาคีที่เกี่ยวข้อง รัฐ
ภาคีอาจตอบข้อมูลใดที่ตนเลือกไปยังคณะกรรมการ คณะกรรมการอาจร้องขอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ
อนุวัติการตามอนุสัญญานี้เพิ่มเติมจากรัฐภาคี
2. ถ้ารัฐภาคีส่งรายงานช้ากว่าก าหนด คณะกรรมการอาจแจ้งต่อรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องถึงความ
จ าเป็นในการตรวจสอบการปฏิบัติตามอนุสัญญานี้บนพื้นฐานของข้อมูลที่เชื่อถือได้ที่คณะกรรมการมีอยู่
ถ้ารัฐภาคีนั้นไม่ส่งรายงานที่เกี่ยวข้องภายในระยะเวลาสามเดือนหลังจากการที่ได้รับแจ้งให้คณะกรรมการ
เชิญรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมการตรวจสอบนี้ด้วย ถ้ารัฐภาคีส่งรายงานที่เกี่ยวข้อง บทบัญญัติของวรรค
หนึ่งของข้อนี้จะน ามาใช้บังคับ
3. เลขาธิการสหประชาชาติจะเปดดโอกาสให้รัฐภาคีทุกประเทศสามารถเข้าถึงรายงาน
4. ให้รัฐภาคีเปดดโอกาสให้สาธารณชนในประเทศของตนสามารถเข้าถึงรายงานและเปดดโอกาสให้
เข้าถึงข้อเสนอแนะและข้อแนะน าทั่วไปที่เกี่ยวกับรายงานเหล่านี้
5. หากพิจารณาว่าเหมาะสม ให้คณะกรรมการน าส่งรายงานของรัฐภาคีไปยังทบวงการช านัญ
พิเศษ กองทุน และโปรแกรมต่างๆ ของสหประชาชาติ และองค์กรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อแจ้งค าร้องหรือ
ข้อระบุความต้องการค าแนะน าทางวิชาการหรือความช่วยเหลือที่ระบุในรายงาน พร้อมข้อสังเกตและ
ข้อแนะน าของคณะกรรมการ (ถ้ามี) เกี่ยวกับค าร้องหรือข้อระบุความต้องการเหล่านี้ the Rights of
Persons with Disabilities
ข้อ 37
ความร่วมมือระหว่างรัฐภาคีและคณะกรรมการ
1. ให้รัฐภาคีแต่ละรัฐร่วมมือกับคณะกรรมการ และช่วยเหลือสมาชิกของคณะกรรมการในการ
ด าเนินการตามอาณัติให้บรรลุผลส าเร็จ
2. ในความสัมพันธ์กับรัฐภาคี คณะกรรมการจะค านึงถึงหนทาง และวิธีการเพิ่มประสิทธิผลของ
ประเทศในการอนุวัติการตามอนุสัญญานี้ ซึ่งรวมถึงผ่านความร่วมมือระหว่างประเทศ