Page 269 - ตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยเป็นภาคี : จากเว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ
P. 269
23
ข้อ 38
ความสัมพันธ์ของคณะกรรมการกับหน่วยงานอื่นๆ
เพื่อให้การอนุวัติการตามอนุสัญญานี้ เป็นไปอย่างมีประสิทธิผล และเพื่อกระตุ้นให้เกิดความ
ร่วมมือระหว่างประเทศในด้านที่อยู่ภายใต้อนุสัญญานี้
(เอ) ทบวงการช านัญพิเศษและองค์กรอื่นๆ ของสหประชาชาติ มีสิทธิที่จะมีตัวแทนในการ
พิจารณาการอนุวัติการตามบทบัญญัติเหล่านั้นของอนุสัญญานี้ภายในขอบข่ายอ านาจหน้าที่ขององค์กร
เหล่านั้น คณะกรรมการอาจเชิญทบวงการช านัญพิเศษและองค์กรอื่นๆ ของสหประชาชาติตามที่
เห็นสมควรเพื่อให้ค าแนะน าในฐานะผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการอนุวัติการตามอนุสัญญาในเรื่องที่อยู่ใน
ขอบข่ายอ านาจหน้าที่ขององค์กรนั้น คณะกรรมการอาจเชิญทบวงการช านัญพิเศษและองค์กรอื่นๆ ของ
สหประชาชาติให้เสนอรายงานเกี่ยวกับการอนุวัติตามอนุสัญญาในเรื่องที่อยู่ภายในขอบข่ายกิจกรรมของ
องค์กรดังกล่าว
(บี) หากเหมาะสม ในการปฏิบัติตามขอบข่ายอ านาจหน้าที่ของตน คณะกรรมการจะหารือกับ
องค์กรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องที่จัดตั้งขึ้น โดยสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศต่างๆ เพื่อประกันว่า
แนวทางในการจัดท ารายงานข้อเสนอแนะและข้อแนะน าทั่วไปมีความสอดคล้องกันและหลีกเลี่ยงการ
ซ้ าซ้อนและทับซ้อนในการปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ
ข้อ 39
รายงานของคณะกรรมการ
คณะกรรมการจะรายงานต่อสมัชชาสหประชาชาติและคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมเป็นประจ า
ทุกๆ สองปี เกี่ยวกับกิจกรรมของคณะกรรมการและอาจท าข้อเสนอแนะและข้อแนะน าทั่วไป โดย
พิจารณาจากรายงานและสารสนเทศที่ได้รับจากรัฐภาคีเป็นฐานข้อเสนอแนะและข้อแนะน าทั่วไปเช่นว่า
นั้นต้องรวมอยู่ในรายงานของคณะกรรมการ พร้อมทั้งข้อสังเกตจากรัฐภาคี (ถ้ามี)nvention on the
Rights of Persons with Disabilities
ข้อ 40
ที่ประชุมของรัฐภาคี
1. รัฐภาคีจะต้องประชุมอย่างสม่ าเสมอในที่ประชุมของรัฐภาคี เพื่อพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวข้อง
กับการอนุวัติตามอนุสัญญานี้
2. ภายในเวลาไม่เกินหกเดือนหลังจากที่อนุสัญญานี้เริ่มมีผลบังคับใช้ เลขาธิการสหประชาชาติจะ
เรียกประชุมที่ประชุมของรัฐภาคี การประชุมครั้งต่อๆ ไป เลขาธิการสหประชาชาติจะเรียกประชุมทุกๆ
สองปี หรือตามมติที่ประชุมของรัฐภาคี
ข้อ 41
การเก็บรักษาอนุสัญญา
เลขาธิการสหประชาชาติเป็นผู้เก็บรักษาอนุสัญญานี้