Page 8 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 8
5. บทบำทในกำรท�ำงำนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียและองค์กรอื่น ๆ ทั้งในและต่ำงประเทศ (Relationship with
Stakeholders and Other Bodies) โดยต้องท�ำงำนร่วมกับหน่วยงำนต่ำง ๆ ทั้งรัฐสภำ หน่วยงำนภำครัฐที่เกี่ยวข้อง
ในประเทศ องค์กรสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศ องค์กรสิทธิมนุษยชนในประเทศอื่น ๆ หน่วยงำนในกระบวนกำรยุติธรรม
เช่น ศำล ฯลฯ และกลุ่มองค์กำรเอกชน (NGOs) และภำคประชำสังคม เนื่องจำกจะเป็นกลุ่มที่สำมำรถเข้ำถึงกลุ่มเสี่ยง
ได้มำกที่สุด ทั้งนี้ กำรด�ำเนินกำรต้องคงควำมเป็นกลำงและไม่เข้ำข้ำงฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่ง แต่ควรมุ่งเน้นที่จะน�ำเสนอจุดยืน
ที่อยู่บนพื้นฐำนของสิทธิมนุษยชนอย่ำงเคร่งครัด
ทั้งนี้ สถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติควรรักษาสมดุล (Balance) ของการปฏิบัติหน้าที่หลักทั้ง 5 ด้านอย่าง
เหมาะสม ตำมทรัพยำกรที่จ�ำกัด และล�ำดับควำมส�ำคัญตำมยุทธศำสตร์และสถำนกำรณ์ของประเทศ
อย่ำงไรก็ดี ในช่วงควำมขัดแย้งหรือสถำนกำรณ์ทำงกำรเมือง สถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติอำจมีบทบำทอย่ำงมำก
ในกำรตรวจสอบกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน และกำรส่งเสริมควำมรู้ควำมเข้ำใจในหลักสิทธิมนุษยชน นอกจำกนั้น บทบำท
ดังกล่ำวอำจหมำยรวมถึงควำมพยำยำมที่จะส่งเสริมกำรเจรจำระหว่ำงกลุ่มบุคคลที่มีกำรโต้แย้งหรือต่อสู้กัน หรือกำร
ส่งเสริมกำรจัดตั้งและขยำยตัวของกลไกกำรสร้ำงสันติภำพระหว่ำงตัวแทนชุมชน หรือกำรส่งเสริมให้มีกำรยอมรับ และ
กำรประนีประนอมในประเด็นปัญหำสิทธิมนุษยชนพื้นฐำน ซึ่งอำจเป็นต้นเหตุแห่งควำมขัดแย้ง
เพื่อให้กำรด�ำเนินกำรตำมบทบำททั้ง 5 มีประสิทธิภำพ กำรบริหำรจัดกำรส�ำนักงำนควรเกิดขึ้นทันทีหลังจำก
ที่มีกำรจัดตั้งสถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติขึ้นในกฎหมำย ทั้งนี้ ควรมีองค์ประกอบอย่ำงน้อยดังนี้
โครงสร้ำงพื้นฐำนที่ส�ำคัญ ต้องประกอบด้วยสถำนที่และกำรเดินทำงที่เข้ำถึงได้ง่ำย
รวมถึงมีกำรก�ำหนดกำรสื่อสำรโทรคมนำคมและเทคโนโลยีสำรสนเทศที่เหมำะสม
กำรพัฒนำองค์กร ต้องมีกำรก�ำหนดคุณสมบัติผู้น�ำ โครงสร้ำงองค์กร กำรวำงแผนเชิงกลยุทธ์
กำรวำงแผนทรัพยำกรบุคคล และกำรจัดกำรควำมรู้อย่ำงเป็นระบบ
ทรัพยำกรทำงกำรเงิน ต้องมีกำรก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีในกำรจัดท�ำงบประมำณจำกรัฐบำล
อย่ำงอิสระ รวมถึงกระบวนกำรในกำรบริหำรกำรเงิน และกำรประสำนควำมร่วมมือของผู้บริจำค
7
มำตรฐำนและแนวทำงกำรด�ำเนินงำนของสถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ