Page 5 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 5

ค�าน�า







                       หลักกำรปำรีส (Paris Principles) เป็นเอกสำรที่เป็นผลจำกกำรสัมมนำระหว่ำงประเทศว่ำด้วยสถำบันสิทธิมนุษยชน
                     แห่งชำติในกำรส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในปี ค.ศ. 1991 เพื่อวำงแนวทำงในกำรด�ำเนินงำนของสถำบันสิทธิ

                     มนุษยชนแห่งชำติที่จะจัดตั้งขึ้นในระดับประเทศ ให้มีควำมชอบธรรมและเป็นที่ยอมรับ (legitimacy and credibility)
                     ซึ่งหลักกำรปำรีสได้กลำยเป็นบรรทัดฐำนส�ำคัญของคุณลักษณะและบทบำทของสถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติที่พึงมี

                     อย่ำงไรก็ดี นับตั้งแต่ได้มีกำรรับรองหลักกำรปำรีสมำจนถึงปัจจุบัน ได้มีกำรอธิบำย/ตีควำมหลักกำรปำรีสให้มีควำมชัดเจน
                     และเป็นรูปธรรมมำกขึ้น ตลอดจนมีกำรพัฒนำแนวทำงกำรด�ำเนินงำนของสถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติตำมหลักกำร

                    ดังกล่ำวโดยสหประชำชำติและองค์กรเกี่ยวกับสถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติให้สอดคล้องกับบริบทด้ำนสิทธิมนุษยชน
                    ที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งบทบำทเพิ่มเติมที่กฎหมำยสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศได้ก�ำหนดให้เป็นบทบำทหน้ำที่ของ

                    กลไกสิทธิมนุษยชนในระดับชำติ เพื่อให้กำรด�ำเนินงำนของสถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล
                    มำกขึ้น

                       ดังนั้น เพื่อประโยชน์ในกำรด�ำเนินกำรและพัฒนำงำนขององค์กร ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
                    ร่วมกับมูลนิธิพัฒนำประสิทธิภำพในรำชกำร โดยสถำบันที่ปรึกษำเพื่อพัฒนำประสิทธิภำพในรำชกำร (สปร.) จึงได้

                    ด�ำเนินกำรศึกษำวิจัย เรื่อง “มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ” โดยศึกษำ
                    วิเครำะห์  และสังเครำะห์มำตรฐำนตำมหลักกำรปำรีส  (Paris  Principles)  เอกสำรต่ำงๆ  ขององค์กำรระหว่ำงประเทศ

                    ด้ำนสิทธิมนุษยชน อำทิ ส�ำนักงำนข้ำหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชำชำติ (Office of the United Nations High
                    Commissioner for Human Rights - OHCHR) คณะกรรมกำรประสำนงำนระหว่ำงประเทศว่ำด้วยสถำบันแห่งชำติ

                    เพื่อกำรส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน  (International  Coordinating  Committee  of  National  Institutions
                    for  the  Promotion and Protection of Human Rights – ICC) ตลอดจนแนวปฏิบัติที่ดีจำกประสบกำรณ์ของ

                    สถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติของประเทศต่ำงๆ
                       แม้ว่ำเอกสำรกำรศึกษำวิจัยฉบับนี้จัดท�ำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อใช้เป็นแนวทำงในกำรปฏิบัติหน้ำที่ขององค์กร

                    แต่โดยที่เห็นว่ำเนื้อหำอำจจะเป็นประโยชน์แก่นักเรียน นักศึกษำ และสำธำรณชนทั่วไปที่สนใจในด้ำนสิทธิมนุษยชน จึงได้
                    จัดพิมพ์เผยแพร่ขึ้นในวงกว้ำง ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติหวังว่ำ หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ

                    คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ  เจ้ำหน้ำที่ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ  ในกำรใช้เป็นคู่มือ
                    กำรปฏิบัติงำนและพัฒนำงำนในกำรส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่ประชำชนต่อไป รวมถึงผู้ที่สนใจในกำรศึกษำ

                    เรียนรู้บทบำทหน้ำที่ของสถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติตำมหลักกำรสำกล



                       ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
                       กันยำยน 2558












               4
           มำตรฐำนและแนวทำงกำรด�ำเนินงำนของสถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10