Page 6 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 6
บทสรุปส�าหรับผู้บริหาร
เอกสำรฉบับนี้จัดท�ำขึ้นเพื่อเป็นแนวทำงกำรท�ำงำนที่เป็นมำตรฐำนส�ำหรับกำรด�ำเนินงำนของสถำบันสิทธิมนุษยชน
แห่งชำติ และใช้อ้ำงอิงในกำรปฏิบัติงำนของส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติร่วมกับคณะกรรมกำรสิทธิ
มนุษยชนแห่งชำติให้สอดคล้องกับมำตรฐำนระหว่ำงประเทศ มีควำมน่ำเชื่อถือ มีประสิทธิภำพ ประสิทธิผล และได้รับกำร
ยอมรับจำกทั้งภำยในประเทศและระหว่ำงประเทศ ทั้งนี้ เนื้อหำส่วนใหญ่จะอ้ำงอิงจำกหลักกำรปำรีส (Paris Principles)
และผลกำรทบทวนเอกสำรวิชำกำรที่ได้รับกำรยอมรับในระดับนำนำชำติและจัดท�ำโดยองค์กรระหว่ำงประเทศด้ำน
สิทธิมนุษยชน เช่น Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights เป็นต้น
จำกผลกำรศึกษำพบว่ำ สถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติจ�ำเป็นต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตำมมำตรฐำนที่ก�ำหนดไว้
ในหลักกำรปำรีสและแนวทำงกำรประเมินของ ICC ทั้งในเรื่อง 1) กำรจัดตั้ง (Establishment) 2) ควำมเป็นอิสระ
(Independence) ทั้งกำรปฏิบัติงำนตำมกฎหมำย กำรบริหำรงบประมำณ กำรแต่งตั้งและกำรถอดถอนจำกต�ำแหน่ง 3)
ควำมหลำกหลำยในองค์ประกอบของผู้มีอ�ำนำจตัดสินใจ 4) โครงสร้ำงในกำรบริหำรจัดกำรองค์กร (Organizational
Infrastucture) ที่เหมำะสมและเป็นมำตรฐำน ทั้งกำรเข้ำถึง (Accessibility) และกำรบริหำรและพัฒนำองค์กร (Human
Resource Management and Organization Development)
หลักกำรปำรีสได้ก�ำหนดมำตรฐำนบทบำทของสถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติอย่างน้อย 5 งานส�าคัญที่จ�าเป็นต้องให้
ความส�าคัญ (Prioritize) ในกำรด�ำเนินกำร อันได้แก่
1. บทบำทในกำรส่งเสริมสิทธิมนุษยชน (Promotional Function) โดยจะต้องปฏิบัติหน้ำที่โดยตรงอย่ำงน้อย
ในกำรสนับสนุนกำรก�ำหนดและกำรด�ำเนินกำรด้ำนหลักสูตรกำรศึกษำ กำรเผยแพร่และรณรงค์เรื่องสิทธิมนุษยชน
กำรจัดสัมมนำและฝึกอบรมที่แตกต่ำงตำมกลุ่มเป้ำหมำย กำรจัดกิจกรรมผ่ำนช่องทำงสื่อต่ำง ๆ กำรเผยแพร่รำยงำนเฉพำะ
และรำยงำนประจ�ำปี และกำรสนับสนุนให้มีกิจกรรมหรือกำรด�ำเนินกำรผ่ำนกิจกรรมร่วมกับชุมชน นอกจำกนั้น สถำบัน
สิทธิมนุษยชนแห่งชำติต้องเป็นศูนย์กลำงด้ำนคลังข้อมูลสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ และข้อมูลอื่น ๆ ที่มีควำมเกี่ยวข้องกับ
หลักสิทธิมนุษยชน
5
มำตรฐำนและแนวทำงกำรด�ำเนินงำนของสถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ