Page 129 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 129
การเฝ้าระวังด้านสิทธิมนุษยชน สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีแนวโน้มที่จะท�าหน้าที่ได้เพียง
การเฝ้าระวังและรายงานสถานการณ์ที่เกิดขึ้น เนื่องจากการตรวจสอบอย่างเต็มรูปแบบนั้นแทบจะ
เป็นไปไม่ได้และอาจสร้างความไม่พึงพอใจกับบางฝ่ายอีกด้วย ทั้งนี้ การเฝ้าระวังดังกล่าวต้องท�าขึ้น
โดยยึดหลักสิทธิมนุษยชนและกฎหมายมนุษยธรรมสากล
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรตระหนักถึงความจ�าเป็นที่จะต้องบันทึกข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นทั้งหมด
(fully document) โดยเฉพาะปัญหา/ ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ของความขัดแย้ง
8.2 บทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ในสถานการณ์หลังความขัดแย้ง
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในสถานการณ์หลังความ
ขัดแย้งมีบทบาททั้งการป้องกันและการเยียวยา ผ่านการส่งเสริม
การยอมรับและเคารพในหลักสิทธิมนุษยชน เพื่อสนับสนุนให้เกิด
แนวทางการแก้ปัญหาที่ไม่ใช้ความรุนแรง ทั้งนี้ สถาบันสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติอาจมีความจ�าเป็นที่จะต้องปรับเปลี่ยนการท�างานตาม
แผนงานปกติเพื่อให้สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ได้อย่าง
เหมาะสม
บทบาทในสถานการณ์
หลังความขัดแย้ง
8.2.1
การรักษาความยุติธรรม การบันทึกข้อมูล
ในระยะเปลี่ยนผ่าน บทบาทของ การละเมิดที่ผ่านมา
8.2.5 8.2.2
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ในสถานการณ์
หลังความขัดแย้ง
การสนับสนุนแนวทางการจัดการ 8.2.4 8.2.3
ส�าหรับทหารเด็กและเด็กที่ถูก การสนับสนุนการรับผู้กระท�าผิด
ลักพาตัวไป กลับคืนสู่ชุมชน (reintegration)
128
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ