Page 61 - การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัว และการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน
P. 61
คุ้มครองประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย
หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อป้องกันมิให้มีการผูกขาด
ในทางเศรษฐกิจ
ร่างมาตรา ๒๘๙ ให้มีการปฏิรูปด้านแรงงานตามแนวทาง
ดังต่อไปนี้
(๑) ตรากฎหมายและกำาหนดกลไกเพื่อรองรับเสรีภาพของ
ผู้ใช้แรงงานในการสมาคม การรวมตัวกัน และการร่วมเจรจาต่อรอง
ให้สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศ
๕.๑.๔ พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๑๕ คณะกรรมการมีอำานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๓) เสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย
กฎ หรือข้อบังคับต่อรัฐสภา และคณะรัฐมนตรี เพื่อส่งเสริมและ
คุ้มครองสิทธิมนุษยชน
(๘) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาในกรณีที่
ประเทศไทยจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาเกี่ยวกับการส่งเสริมและ
คุ้มครองสิทธิมนุษยชน
๕.๑.๕ พระราชบัญญัติทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
มาตรา ๑๒ เพื่อประโยชนในการเก็บรักษาและควบคุม
การทะเบียนราษฎร การตรวจสอบพิสูจนตัวบุคคลและประมวลผล
ขอมูลทะเบียนประวัติราษฎร ใหสำานักทะเบียนกลางดำาเนินการจัดเก็บ
ขอมูลทะเบียนประวัติราษฎรตามที่ผูอำานวยการทะเบียนกลางกำาหนด
และปรับปรุงขอมูลทะเบียนประวัติราษฎรใหตรงตอความเปนจริง
อยูเสมอ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กำาหนดในกฎกระทรวง
และฉบับที่ ๙๘ ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน 59
การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ ๘๗ ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว