Page 125 - รายงานศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยผังเมืองกับการคุ้มครองสิทธิชุมชนและสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน
P. 125
95
4.1.3 ปAญหาขององค$กรการจัดทําและการนําผังเมืองไปปฏิบัติ
(1) คณะกรรมการผังเมืองมิใชองค3กรที่จะทําหนาที่ในการวางผังและประสานการพัฒนาใหเป5นไปตาม
ผัง แตจะเป5นเพียงองค3กรบริหารการกํากับดูแลใหมีการปฏิบัติตามกฎหมายและใหความเห็นชอบในการจัดทํา
ผังเมืองรวมกอนนําเสนอใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยพิจารณาออกกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวม
(2) กรมโยธาธิการและผังเมืองมิใชองค3กรวางผังเมืองแหงชาติ ที่จะมีอํานาจสั่งการประสานให
หนวยงานที่เกี่ยวของนําแนวทางของผัง/แผนพัฒนาทายกฎกระทรวงผังเมืองรวมไปกําหนดแผนงานโครงการ
พัฒนาในพื้นที่ได
(3) กรมโยธาธิการและผังเมืองไมมีอํานาจหนาที่ประสานการพัฒนาพื้นที่ ซึ่งหมายความรวมถึงการ
กําหนดแผนงานโครงการพัฒนาพื้นที่ใหเป5นไปตามระยะเวลาการใชบังคับกฎกระทรวงผังเมืองรวมได ตาม
กฎหมายวาดวยการผังเมืองจะกําหนดหนาที่ดังกลาวอยูในความรับผิดชอบของหนวยงานที่เกี่ยวของ
(4) หนวยงานที่เกี่ยวของมีความอิสระในการกําหนดแผนงาน โครงการตามอํานาจหนาที่ จึงมีผลทํา
ใหไมมีการดําเนินการใหเป5นไปตามผัง/แผนโครงการพัฒนาแนบทายกฎกระทรวงผังเมืองรวม
(5) บทบาทองค3กรปกครองสวนทองถิ่นในการพัฒนายังมีจํากัด เนื่องจากหนวยงานสวนกลางที่
รับผิดชอบไมมอบภารกิจหนาที่ใหดําเนินการ
ดังนั้น การวางผังเมืองรวมซึ่งถือวาเป5นผัง/แผนพัฒนาเชิงพื้นที่ จําเป5นอยางยิ่งที่จะตองใหมีกลไก
การมีสวนรวมทุกระดับตั้งแตระดับนโยบายและในกระบวนการวางผัง ทั้งการมีสวนรวมของประชาชน ชุมชน
และในระดับองค3กรวางผังรวมทั้งการมีสวนรวมเมื่อมีการนําผังไปปฏิบัติ
4.2 การวิเคราะห$ขอบเขตและบริบทการพัฒนาเชิงพื้นที่ที่เกี่ยวของกับการวางผังระดับตางๆ
1) การวางและจัดทําผังระดับนโยบาย
เนื่องจากในอดีตกรมโยธาธิการและผังเมือง (สํานักผังเมือง) ไดมีการจัดทําผังระดับนโยบาย คือการ
วางและจัดทําผังภาคมาแลวและไดนําผังภาคนั้นมาเป5นกรอบและแนวทางในการวางและจัดทําโครงสราง
จังหวัด แตจากผลของการวิเคราะห3พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 ทําใหเห็นวาการวางและจัดทํา