Page 132 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 132
131
รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ตัวชี้วัดที่ ๒.๖ ก�รปลอดจ�กก�รถูกทรม�น ถูกลงโทษ หรือถูกปฏิบัติอย่�งท�รุณโหดร้�ย หรือเป็นก�รเหยียบย่ำ�ศักดิ์ศรี
คว�มเป็นมนุษย์ (UDHR-2.6)
ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a) ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c) คำาอธิบาย
ตัวชี้วัดหลัก (A) ตัวชี้วัดหลัก (B) ตัวชี้วัดหลัก (C) การปลอดจากการถูกลงโทษ
๑. การเข้าเป็นภาคี ICCPR, CAT ๑. มีคณะกรรมการที่มีอำานาจ ๑. สัดส่วนของคดีที่มีการ หรือถูกปฏิบัติอย่างทารุณ
และ Optional Protocol 1 อย่างเพียงพอในการตรวจสอบ ร้องเรียนว่า เจ้าพนักงาน โหดร้าย หรือเป็นการเหยียบ
๒. การกำาหนดให้การกระทำา การทรมานในสถาบัน หรือ กระทำาการทารุณกรรมต่อ ย่ำายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
การทรมาน ทารุณโหดร้าย หน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ คดีที่มีการลงโทษทางวินัย/
หรือการปฏิบัติที่ย่ำายีศักดิ์ศรี ในการควบคุม คุมขัง ดูแล ลงโทษทางอาญา
มนุษย์ที่กระทำาโดยเจ้าหน้าที่ ผู้ต้องหา หรือผู้ต้องขัง หรือ
ของรัฐหรือบุคคลที่ได้รับ สถานพยาบาล สถานศึกษา
อำานาจจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ๒. มีกระบวนการให้ทนายความ
เป็นความผิดอาญา หรือครอบครัว หรือญาติ
ผู้ต้องขัง/ผู้ต้องหาเข้าเยี่ยม
ผู้ต้องขัง/ผู้ต้องหาทุกคดี
๓. มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
ของรัฐ เช่น ตำารวจ ราชทัณฑ์
สถานพินิจต่อผู้ถูกจำากัด
เสรีภาพ
๔. มีการจัดทำาแนวปฏิบัติ
(Code of Good Practices)
ของเจ้าหน้าที่ที่มีอำานาจ
ควบคุมตัวบุคคล
ตัวชี้วัดรอง (a) ตัวชี้วัดรอง (b) ตัวชี้วัดรอง (c)
๕. มีคณะกรรมการด้านการแพทย์ ๒. จำานวนคดีที่สื่อมวลชน/NGOs
ที่เป็นอิสระตรวจร่างกาย รายงานเรื่องการทรมาน
ผู้ต้องหา หรือผู้ต้องขัง ทั้ง ๓. จำานวนคดีที่มีรายงานจาก
ก่อนหน้าและภายหลังจากการ คณะกรรมการฯ ว่ามีร่องรอย
เข้าสู่เรือนจำา หรือทัณฑสถาน การถูกทรมานหรือการถูก
เพื่อให้มีหลักประกันว่าไม่มี ทำาร้ายร่างกายในการคุมขัง
การถูกทารุณกรรม
๖. มีการทบทวน ปรับปรุง
แก้ไขกฎหมายที่ให้อำานาจ
เจ้าพนักงานของรัฐควบคุม
ตัวบุคคลที่ยังไม่สอดคล้อง
กับมาตรฐานสิทธิมนุษยชน