Page 123 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 123

122


       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
       การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน



                                                ๕.๑  กลุ่มตัวชี้วัดที่ ๑

                                              สิทธิในการกำาหนดตนเอง

                            และการมีส่วนร่วมในการบริหารกิจการสาธารณะ (UDHR-1)



                         กลุ่มนี้ มีองค์ประกอบที่เป็นสาระแห่งสิทธิ ๓ ด้าน คือ

                         ตัวชี้วัดที่  ๑.๑  การมีส่วนร่วมในการกำาหนดระบอบทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ

                                     วัฒนธรรม (UDHR-1.1)

                         ตัวชี้วัดที่ ๑.๒  การมีส่วนร่วมในการกำาหนดนโยบายหรือแผนเกี่ยวกับการบริหารจัดการกิจการ
                                     สาธารณะ ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม (UDHR-1.2)

                         ตัวชี้วัดที่ ๑.๓  การมีสิทธิออกเสียงเลือกผู้แทนตามวิถีทางประชาธิปไตย (UDHR-1.3)





                ตัวชี้วัดที่ ๑.๑   ก�รมีส่วนร่วมในก�รกำ�หนดระบอบท�งก�รเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (UDHR-1.1)

                  ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a)  ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b)  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c)  คำาอธิบาย

                     ตัวชี้วัดหลัก (A)      ตัวชี้วัดหลัก (B)     ตัวชี้วัดหลัก (C)  การมีส่วนร่วมในการกำาหนด
                ๑.  มีกฎหมายรับรองการปกครอง ๑.  มีกลไกและกระบวนการใน ๑.  สัดส่วนของจำานวนร่าง  ระบอบทางการเมือง  เศรษฐกิจ
                  ประเทศแบบประชาธิปไตย   การปกครองแบบมีส่วนร่วม   กฎหมายของประชาชนที่  สังคม และวัฒนธรรม
                  แบบมีส่วนร่วมของประชาชน   ในระดับชาติและระดับท้องถิ่น   นำาเสนอต่อรัฐสภาต่อจำานวน
                  และรับรองสิทธิเสรีภาพ  ๒. รายงานจำานวนครั้ง/  ร่างกฎหมายที่ประชาชน
                  ขั้นพื้นฐานของประชาชน   เหตุการณ์การมีภาคส่วน  เสนอและได้รับการเห็นชอบ
                ๒. มีกฎหมายรับรองความเป็น  ต่างๆ ของสังคมเข้าร่วม   จากรัฐสภา
                  อิสระในการดำาเนินงานของ  มีกระบวนการที่เอื้ออำานวย
                  องค์กรพัฒนาเอกชน       ต่อประชาชนให้ใช้สิทธิ
                                         ในการเสนอกฎหมาย
                                         ประชามตและยื่นเรื่อง
                                         ถอดถอนผู้ดำารงตำาแหน่ง
                                         ทางการเมือง

                     ตัวชี้วัดรอง (a)       ตัวชี้วัดรอง (b)       ตัวชี้วัดรอง (c)

                ๓.  มีรัฐธรรมนูญกำาหนดให้การ ๓.  สัดส่วนงบประมาณที่จัดสรร ๒. จำานวนคำาร้องเรียน/คำาฟ้อง
                  ทำาข้อตกลงระหว่างประเทศ   ให้กับกระทรวงหรือหน่วยงาน  ต่อศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับ
                  (กับรัฐ หรือองค์กรระหว่าง  ที่เน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิต  การทำาสนธิสัญญาที่มีผล
                  ประเทศ) ที่อาจมีผลกระทบ  ของประชาชน           กระทบต่ออธิปไตยของรัฐ
                  อย่างสำาคัญต่อการใช้อธิปไตย                   ที่ไม่ได้รับความเห็นชอบ
                  ของประเทศต้องมีการรับฟัง                      จากรัฐสภา
                  ความเห็นจากสาธารณะและ
                  ต้องออกเป็นพระราชบัญญัติ
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128