Page 25 - 10 เรื่องเด่น สิทธิมนุษยชนด้านกฎหมายและการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม
P. 25

๑๐ เรื่องเด่น สิทธิมนุษยชนด้านกฎหมายและการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม





               แทนการลงโทษครบถ้วนแล้ว  เป็นผลให้ไม่มีการลงโทษ  หรือในกรณีที่
               มีการยอมความ  การถอนคำาร้องทุกข์  หรือการถอนฟ้องในความผิด
               ตามมาตรา  ๔  ให้พนักงานสอบสวนหรือศาล  แล้วแต่กรณี  จัดให้มี

               การทำาบันทึกข้อตกลงเบื้องต้นก่อนการยอมความ  การถอนคำาร้องทุกข์
               หรือการถอนฟ้องนั้น  โดยกำาหนดให้ใช้วิธีการฟื้นฟู  บำาบัดรักษา
               คุมความประพฤติผู้กระทำาความผิด  ให้ผู้กระทำาความผิดชดใช้เงิน

               ช่วยเหลือบรรเทาทุกข์  ทำางานบริการสาธารณะ  ละเว้นการกระทำา
               อันเป็นเหตุให้เกิดการใช้ความรุนแรงในครอบครัว  หรือทำาทัณฑ์บนไว้

               ตามวิธีการและระยะเวลาที่พนักงานสอบสวนหรือศาลกำาหนด  หากได้
               ปฏิบัติตามบันทึกข้อตกลงและเงื่อนไขดังกล่าวครบถ้วนแล้ว  เป็นผล
               ให้มีการยอมความ  การถอนคำาร้องทุกข์  หรือการถอนฟ้องในความผิด

               ตามมาตรา ๔ ได้ สิทธินำาคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไป

                      ๔) กรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไต่สวนข้อเท็จจริงแล้วมีมติว่า
               ข้อกล่าวหาใดไม่มีมูลให้ข้อกล่าวหานั้นเป็นอันตกไป ซึ่งเป็นไปตามหมวด ๘

               มาตรา ๙๑ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกัน
               และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒

                    ๒. สำานักงานตำารวจแห่งชาติควรมีการกำาหนดคำาจำากัดความ
               ของคำาว่า “อาชญากร” ให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น และจากการชี้แจงข้อมูล

               ของผู้แทนสำานักงานตำารวจแห่งชาติ ปัจจุบันฐานข้อมูลประวัติอาชญากร
               มีอยู่ประมาณ ๙,๐๐๐,๐๐๐ ราย ซึ่งเป็นจำานวนที่ค่อนข้างมากเมื่อเทียบกับ

               จำานวนประชากรของประเทศไทย โดยข้อมูลการกระทำาความผิดของแต่ละ
               บุคคลจะถูกบันทึกไว้ในทะเบียนประวัติอาชญากร  ทำาให้สังคมเข้าใจ
               และตีตราว่าบุคคลนั้นเป็นอาชญากรซึ่งเป็นถ้อยคำาที่รุนแรง ถึงแม้ว่าจะเป็น




                                                                              23
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30