Page 234 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 234
17. ศูนย์ศึกษาผู้ตรวจการแผ่นดิน มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานศึกษาเปรียบเทียบ
ระบบผู้ตรวจการแผ่นดิน งานเอกสารวิชาการ/เผยแพร่ งานบริการวิชาการงานวิเทศสัมพันธ์
ตลอดจนปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับมอบหมาย
18. หน่วยตรวจสอบภายใน มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดวางระบบการตรวจสอบ
การบริหารการเงินการบัญชี การพัสดุ และทรัพย์สินของส านักงาน ตลอดจนท าการตรวจสอบ
ประเมินผลและรายงานต่อเลขาธิการ
5.3.6 แผนผังการด าเนินงานเรื่องราวร้องทุกข์
จากการศึกษารายงานการวิจัยของชลัช จงสืบพันธ์ และคณะ (2551 :171-174)ได้
กล่าวถึงขั้นตอนการด าเนินเรื่องราวร้องทุกข์ ดังนี้
งานและผังงานที่รองรับภารกิจที่ 1 กรณีที่มีการร้องเรียน
1. ส านักสอบสวนรับเรื่องร้องเรียนแล้วท าการตรวจสอบ/กลั่นกรองเรื่องร้องเรียน
แล้วส่งเรื่องให้ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณา
2. ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณา
2.1 กรณีไม่รับเรื่องร้องเรียนส่งเรื่องคืนผู้ร้องเรียนหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ
แล้วแต่กรณี
2.2 กรณีรับเรื่องร้องเรียนส่งส านักสอบสวนด าเนินการสอบสวน
่
3. ฝายสอบสวนด าเนินการสอบสวนหรือขอข้อมูลหรือขอค าชี้แจงจากหน่วยงาน
หรือบุคคลที่ถูกร้องเรียน
3.1 กรณีไม่ได้รับข้อมูล/ค าชี้แจงผู้ตรวจการแผ่นดินด าเนินคดีตามกฎหมาย
และรายงานต่อรัฐสภา
่
3.2 กรณีได้รับข้อมูล/ค าชี้แจงฝายสอบสวนประมวลข้อเท็จจริงและด าเนินการ
เสนอพร้อมค าวินิจฉัยและความเห็นต่อผู้ตรวจการแผ่นดินถ้าเป็นกรณีปกติ
3.3 แต่ถ้าเป็นกรณีไม่ปกติหรือกรณีมีข้อมูลไม่เพียงพอหรือมีข้อสงสัย
เกี่ยวกับค าชี้แจงและจ าเป็นต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมด าเนินการสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม
4. ผู้ตรวจการแผ่นดินวินิจฉัย
4.1 ถ้าไม่ผิดตามค าร้องเรียนให้ส่งเรื่องไปยังผู้ร้องเรียนแล้วยุติเรื่อง
4.2 ถ้าผิดตามค าร้องเรียนส่งเรื่องพร้อมทั้งค าวินิจฉัยและข้อเสนอแนะไปยัง
หน่วยงานหรือบุคคลที่ถูกร้องเรียนปฏิบัติ
- 189 -