Page 294 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 294
216
ข้อมูลที่ใช้ก าหนดตัวชี้วัด กับตัวกระบวนการและการจัดเก็บข้อมูลของหน่วยงาน
1. ท่านคิดว่าข้อมูลสถิติที่จะน ามาใช้ในการประเมินตัวชี้วัดทั้งสามประเภท (ตัวชี้วัดโครงสร้าง (ใน
ตาราง B) ตัวชี้วัดกระบวนการ (ในตาราง C) และตัวชี้วัดผล (ในตาราง D)) ของสาระแห่งสิทธิที่
เป็นภารกิจของหน่วยงานท่านนั้นเป็นข้อมูล หรือสถิติที่มีการจัดเก็บในการด าเนินงานตามปกติ
ของท่านอยู่แล้วหรือไม่ ยังมีข้อมูลประเภทใดที่ยังไม่ได้มีการจัดเก็บข้อมูลและถ้าจะต้องจัดเก็บ
ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่ก าหนดขึ้นนั้นจะมีอุปสรรคและปัญหาใดที่ส าคัญ
2. ในกรณีที่สิทธิด้านนั้นเป็นภารกิจในการด าเนินงานขององค์กรของท่าน แต่การรวบรวมจัดเก็บ
ข้อมูลที่ใช้ส าหรับประเมินตัวชี้วัดเป็นข้อมูลเป็นขององค์กรอื่นท่านมีวิธีการอย่างไรเพื่อให้ได้ข้อมูล
นั้นมาใช้ประโยชน์ในการด าเนินงานของท่าน
3. ท่านคิดว่าควรมีหน่วยงานกลางที่เป็นหน่วยงานรวบรวมและจัดเก็บข้อมูล (clearing house) ที่
ก าหนดขึ้น ตามตัวชี้วัดต่างๆ เพื่อประเมินการด าเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน หรือไม่
ผลของตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นสัมพันธ์กับการด าเนินงานของหน่วยงาน
1. ท่านคิดว่าชุดตัวชี้วัดที่จัดท าขึ้น (สาระแห่งสิทธิในด้านต่างๆ และ ตัวชี้วัดด้านต่างๆ) ช่วยให้การ
ด าเนินงานของหน่วยงานท่านที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนมีความชัดเจนขึ้นหรือไม่
2. ท่านคิดว่าชุดตัวชี้วัดที่จัดท าขึ้น มีส่วนช่วยให้หน่วยงานท่านท าการรายงานผลการปฏิบัติตาม
พันธะหน้าที่เกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนได้ง่ายขึ้น/หรือท าให้ท่านมีข้อมูลที่ตรงกับความ
ต้องการของหน่วยงานที่ขอข้อมูลเพื่อจัดท ารายงานการปฏิบัติตามพันธะหน้าที่เกี่ยวกับการ
คุ้มครองสิทธิมนุษยชนได้ง่ายขึ้น
ส่วน ที่สอง เป็นค าถามที่เกี่ยวกับข้อมูล หลักฐาน และเอกกสารเกี่ยวกับตัวชี้วัดแต่ละด้านที่เกี่ยวกับ
หน่วยงานท่านที่ปรากฏในตารางชุดตัวชี้วัด (ส่วนนี้ผู้สัมภาษณ์จะขอความเห็นเกี่ยวกับตัวชี้วัดบางตัวเพื่อ
ช่วยให้เกิดความชัดเจนขึ้น)