Page 293 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 293

215




                                                      ภาคผนวกที่ 4


                                 แนวค าสัมภาษณ์หน่วยงานต่างๆ เกี่ยวกับตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน





               ข้อส่วนที่หนึ่ง ค าถามทั่วไป 3 หัวข้อ


                       -  ความถูกต้องและเหมาะสมของตัวชี้วัด
                       -  ข้อมูลที่ใช้ก าหนดตัวชี้วัดกับตัวกระบวนการและการจัดเก็บข้อมูลของหน่วยงาน
                       -  ผลของตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นที่อาจจะมีขึ้นในการด าเนินงานของหน่วยงาน

                                            ความถูกต้องและเหมาะสมของตัวชี้วัด


                       1.  สาระแห่งสิทธิ ที่ก าหนดขึ้น (ในตาราง A) ครอบคลุมสิทธิต่างๆ  ตามที่ได้รับรองในปฏิญญาสากล
                          ว่าด้วยสิทธิมนุษยชนหรือไม่ มีส่วนใดที่ควรปรับหรือเพิ่มเติม


                       2.  สาระแห่งสิทธิที่ได้ก าหนดขึ้น (ในตาราง A)  ได้สะท้อนถึงการด าเนินงานตามภาระหน้าที่ของ
                          หน่วยงานท่านที่เกี่ยวกับการส่งเสริม คุ้มครองสิทธิมนุษยชนมากน้อยเพียงใด (มาก ปานกลาง
                          หรือน้อย) และท่านมีข้อเสนอแนะ หรือเพิ่มเติมอย่างไร เพื่อให้สาระแห่งสิทธิที่ก าหนดขึ้นได้

                          สะท้อนภารกิจหน้าที่ในการท างานของหน่วยงานของท่าน

                       3.  ท่านคิดว่าตัวชี้วัดทั้งสามประเภท คือ ตัวชี้วัดโครงสร้าง (ในตาราง B) ตัวชี้วัดกระบวนการ (ใน
                          ตาราง C) และตัวชี้วัดผล (ในตาราง D)  มีความเหมาะสมในการใช้เป็นเครื่องมือชี้วัดการบรรลุถึง

                          การมีสิทธิของบุคคลตามสาระแห่งสิทธิที่ได้ก าหนดขึ้น (ในตาราง A) หรือไม่

                       4.  ชุดตัวชี้วัดสิทธิในแต่ละสิทธิมีความเกี่ยวโยงสัมพันธ์ อย่างเหมาะสมหรือไม่ มีส่วนใดที่ท่านเห็นว่า
                          ควรจะต้องปรับ หรือแก้ไข (ท่านอาจพิจารณาเฉพาะสาระแห่งสิทธิที่เป็นภารกิจในการด าเนินงาน

                          ของหน่วยงานของท่าน)
   288   289   290   291   292   293   294   295   296   297   298