Page 37 - คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจตามหลักสิทธิมนุษยชน
P. 37

สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ




            การสอบสวนอย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป็นธรรม และการไม่ให้ถ้อยคำา
            เป็นปฏิปักษ์ต่อตนเอง

                                            (๕)  ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา จำาเลย
            และพยานในคดีอาญา มีสิทธิได้รับความคุ้มครอง และความช่วยเหลือที่จำาเป็น
            และเหมาะสมจากรัฐ ส่วนค่าตอบแทน ค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายที่จำาเป็น
            ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ



                                            (๖)  เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ
            หรือผู้พิการหรือทุพพลภาพ ย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองในการ
            ดำาเนินกระบวนพิจารณาคดีอย่างเหมาะสม และย่อมมีสิทธิได้รับการปฏิบัติ

            ที่เหมาะสมในคดีที่เกี่ยวกับความรุนแรงทางเพศ
                                            (๗)  ในคดีอาญา ผู้ต้องหาหรือจำาเลย
            มีสิทธิได้รับการสอบสวนหรือการพิจารณาคดีที่ถูกต้อง รวดเร็วและเป็นธรรม
            โอกาสในการต่อสู้คดีอย่างเพียงพอ การตรวจสอบหรือได้รับทราบพยาน

            หลักฐานตามสมควร การได้รับความช่วยเหลือในทางคดีจากทนายความ
            และการได้รับการปล่อยตัวชั่วคราว
                                            (๘)  ในคดีแพ่งบุคคลมีสิทธิได้รับ
            ความช่วยเหลือทางกฎหมายอย่างเหมาะสมจากรัฐ


                                   ๕)  ส่วนที่ ๑๑ เสรีภาพในการชุมนุมและ
            การสมาคม

                                      มาตรา ๖๓  บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการ
            ชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ

                                      การจำากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทำา
            มิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะในกรณี
            การชุมนุมสาธารณะ และเพื่อคุ้มครองความสะดวกของประชาชนที่จะใช้



                                          13
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42