Page 125 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 125

หำงำนท ำแทน ทั้งนี้เพรำะไม่มีควำมรู้ทั้งในเรื่อง พ.ร.บ. กำรศึกษำ และสิทธิมนุษยชน สิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์

               เช่นกัน ซึ่งควำมรุนแรงและกำรละเมิดสิทธิดังกล่ำวมำจำกทัศนคติและกรอบวัฒนธรรมสังคมที่พยำยำม
               แยกควำมรู้เรื่องเพศออกจำกเยำวชน น ำไปสู่กำรตัดสินและทัศนคติแง่ลบต่อเยำวชนหญิงตั้งครรภ์

               ขณะเดียวกันเยำวชนหญิงตั้งครรภ์เองก็เข้ำใจว่ำกำรตั้งครรภ์ของตนเป็นสิ่งเลวร้ำย ผิดบำป น่ำอับอำยจน

               ต้องปิดบัง แยกตัวออกจำกสังคมมำกกว่ำมองว่ำเป็นเรื่องธรรมชำติและสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ ดังนั้นใน

               กำรท ำให้กำรเข้ำถึงสิทธิมนุษยชนด้ำนกำรศึกษำของเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ประสบผลส ำเร็จ ต้องสร้ำง

               มุมมองทัศนคติใหม่ให้กับเยำวชน นักเรียน ผู้ปกครอง ครู อำจำรย์ไปจนถึงผู้บริหำรสถำนศึกษำในเรื่องสิทธิ
               อนำมัยเจริญพันธุ์ให้ชัดเจนและมำกขึ้น



                       ๔.๑.๕ ด้านการพัฒนาและฟื้นฟูเยียวยาทั้งทางร่างกายและจิตใจ
                       จำกกำรศึกษำวิจัยทำงเอกสำร โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งภำคสนำมพบว่ำ กำรละเมิดสิทธิมนุษยชนของ

               เยำวชนหญิงตั้งครรภ์เป็นกำรกระท ำทั้งทำงตรงต่อตัวเยำวชนหญิงตั้งครรภ์เอง และในเชิงโครงสร้ำงสังคม

               ควำมพยำยำมของรัฐและสังคมที่จะท ำให้สังคมปรำศจำกเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ ในฐำนะปัญหำสังคมและ
               รัฐ กำรผลักเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ออกจำกพื้นที่ทำงสังคม เป็นกำรท ำให้เยำวชนหญิงตั้งครรภ์เป็นกลุ่มคน

               ชำยขอบ (Marginalization) และ “เป็นอื่น” เป็นควำมแตกต่ำงจำกเยำวชน “ทั่วไป” ท ำให้เข้ำไม่ถึง

               ทรัพยำกรต่ำงๆ ของสังคมได้เสมอภำคเท่ำเทียมกับเยำวชนอื่นๆ แม้ว่ำจะมีหน่วยงำนองค์กรบำงแห่ง

               ให้ควำมช่วยเหลือ เช่น บ้ำนพักฉุกเฉิน ของสมำคมส่งเสริมสถำนภำพสตรีฯ (ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๓) แต่ก็

               เป็นกำรช่วยเหลือให้ควำมรู้ กำรเข้ำถึงบริกำร และรักษำสิทธิของเยำวชนหญิงเพื่อตัดสินใจด ำรงครรภ์ต่อ
               มำกกว่ำให้ควำมรู้กำรเข้ำถึงกำรบริกำรในกำรยุติกำรตั้งครรภ์ ซึ่งเป็นกำรรองรับปัญหำที่ปลำยเหตุมำกกว่ำ

               ต้นเหตุ ทั้งนี้ ต้นเหตุของปัญหำเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ในมิติสิทธิมนุษยชน มำจำกวำทกรรมในสังคมที่แฝง

               ด้วยมำยำคติที่ปรำกฏทั้งในกฎหมำยและมำตรกำรต่ำงๆ ของกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับเยำวชน ได้แก่ กำร

               ตั้งครรภ์ของเยำวชนน ำไปสู่ควำมเจ็บป่วย ทุพพลภำพ พิกำรของทั้งแม่และเด็ก และกำรตั้งครรภ์ของ

               เยำวชนเป็นกำรก้ำวพลำดและเป็นผลจำกกำรขำดจริยธรรมที่ดีงำมของเยำวชน ซึ่งยังคงด ำรงอยู่และผลิต
               ซ ้ำอย่ำงต่อเนื่องโดยหน่วยงำนและองค์กรต่ำงๆ ในสังคม เช่น สภำกำชำดไทยที่ยังคงเชื่อว่ำ เยำวชนหญิง

               ตั้งครรภ์เสี่ยงต่อกำรเกิดภำวะโรคแทรกซ้อนระหว่ำงตั้งครรภ์และหลังคลอด เช่น ภำวะโลหิตจำง และ

               โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกับทำรกที่เกิดมำมักเผชิญกับภำวะเติบโตช้ำ น ้ำหนักน้อย ทุพพลภำพ สมองช้ำ
               เจ็บป่วยเรื้อรัง (สภำกำชำดไทย, ๒๕๕๔) และ  สมำคมเครือข่ำยผู้ปกครองที่เชื่อว่ำเยำวชนหญิงตั้งครรภ์

               เกิดจำกครอบครัวที่ยำกจน แตกแยก เยำวชนจึงไม่รู้จักรัก รักคนอื่นไม่เป็น พยำยำมท ำตัวโดดเด่น เห็นแก่

               ตัว และกำรได้รับกำรศึกษำน้อย ไม่ได้รับกำรอบรมสั่งสอน ไม่เชื่อฟังผู้ใหญ่และสมำชิกในครอบครัว ไม่รู้จัก

               ควำมพอเพียง มัวเมำไปกับวัตถุนิยม ปฎิเสธกำรมีเพศสัมพันธ์ไม่เป็น จึงท ำให้มีเพศสัมพันธ์ก่อนเวลำอัน

               ควร (สมำคมเครือข่ำยผู้ปกครองแห่งชำติ, ๒๕๕๔) ด้วยทั้งกรอบจริยธรรมทำงสังคมว่ำด้วยเรื่องเพศ และ





                                                                                                      ๑๒๔
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130