Page 71 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 71

3.4.2  ประเด็นปัญหาฐานทรัพยากรชายฝั่งทะเล
                                                                                            ั
                                   ั
                                 ปญหาการละเมิดสิทธิในกรณีร้องเรียนหนึ่ง ๆ จะเชื่อมโยงกับประเด็นปญหาหลายประเด็น
                   ด้วยกันเช่นกัน ตัวอย่างเช่น โครงการก่อสร้างเขื่อนหรืออ่างเก็บน ้าแห่งหนึ่ง ที่ร้องเรียนเข้ามายังคณะกรรมการสิทธิ
                                                                               ั่
                   มนุษยชนแห่งชาติ แล้วมอบให้คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่และสิ่งแวดล้อมรับไปด าเนินการ
                                                                                                    ั
                   หรือร้องเรียนเข้ามายังคณะอนุกรรมการฯชุดนี้โดยตรงก็ตาม ว่าการก่อสร้างโครงการดังกล่าวจะก่อให้เกิดปญหาแย่ง
                                              ั่
                   ชิงและเปลี่ยนสภาพแวดล้อมชายฝงอันส่งผลถึงทรัพยากรประมง ผู้ร้องจึงหวั่นเกรงว่าจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อ
                   วิถีชีวิตและรายได้ แต่เมื่อคณะอนุกรรมการฯได้ท าการศึกษาข้อมูลและลงไปตรวจสอบจะพบว่านอกจากความหวั่น
                                                                ั
                   เกรงในเรื่องดังกล่าวแล้ว จะพบว่าโครงการดังกล่าวยังมีปญหาตามมาอีกมากมาย ไม่ว่าผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
                                                            ั่
                   ระบบนิเวศ วัฒนธรรม โดยเฉพาะการกัดเซาะชายฝงจากการรบกวนสมดุลของการเคลื่อนย้ายเม็ดทรายของระบบ
                                                                                                        ั่
                                                      ั
                   หาดทรายเป็นต้น  จากการรวบรวมในกลุ่มปญหา 3  กลุ่ม ในเรื่องท่าเทียบเรือและโครงสร้างวิศวกรรมชายฝง ข้อ
                   พิพาทที่ดินชายทะเล และความขัดแย้งจากนโยบายและกิจกรรมทางทะเล พบว่า (แสดงตารางแจกแจงประเด็นต่างๆ
                   ในตารางที่ 3.8-1 ถึง 3.8-3)
                                                                                                       ั่
                                                                    ั
                                 โครงสร้างชายฝั่งทะเล ท่าเทียบเรือ  เกิดปญหาการกัดเซาะและเปลี่ยนแปลงสภาพชายฝง อัน
                   เกิดจากการพัฒนาเขื่อนกันทรายปากคลอง ท่าเทียบเรือ และเขื่อนกันคลื่น
                                       หน่วยงานผู้ถูกร้อง ได้แก่ รัฐบาล กรมการขนส่งทางน ้าและพาณิชยนาวี ส านักงาน
                                         นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

                                       หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ รัฐบาล กรมการขนส่งทางน ้าและพาณิชยนาวี ส านักงาน
                                         นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรมทรัพยากรทางทะเลและ
                                             ั่
                                         ชายฝง จังหวัด
                                                        ั
                                 สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้อย่างน้อย 2 ประเด็น คือ 1) ผลกระทบต่อทรัพยากร
                                                    ั่
                                  ั
                   ประมง 7 กรณี 2) ปญหาผลกระทบต่อชายฝง 18 กรณี
                                                                                                        ั
                                                                    ั่
                                 คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหา
                                                                                                 ั
                   ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเอาไว้ทั้งหมด 3 แนวทาง คือ 1) ให้ยุติโครงการ 7 กรณี  2) ให้แก้ไขปญหาความ
                   เดือดร้อน เช่น ให้ฟื้นฟูระบบนิเวศบริเวณพื้นที่ก่อสร้างโครงการ  7 กรณี 3)  ให้ยุติการตรวจสอบจากเหตุผลอื่น ๆ
                   เช่น หน่วยงานผู้ถูกร้องขอชะลอการก่อสร้างโครงการออกไปก่อน 3 กรณี
                                 การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ พบว่า ไม่มีการสนองตอบหรือไม่สามารถแก้ไขได้เลย 5 กรณี มี
                                                       ั
                   การชะลอการด าเนินการ 14 กรณี มีการแก้ไขปญหาอย่างดี 2 กรณี และไม่ทราบผล 1 กรณี

                                                                           ั่
                                                ั
                                 ที่ดินชายฝั่ง เกิดปญหาในการแย่งชิงการใช้ที่ดินชายฝงระหว่างภาคเอกชนกับประชาชนในพื้นที่
                   และภาครัฐกับประชาชนในพื้นที่
                                       ผู้ถูกร้อง ได้แก่ รัฐบาล กรมที่ดิน ส านักงานที่ดิน จังหวัด กรมการขนส่งทางน ้าและ
                                                       ่
                                         พาณิชยนาวี กรมปาไม้ บริษัท
                                                                                                   ่
                                       หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ รัฐบาล กรมที่ดิน กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา และพันธุ์
                                         พืช องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ส านักงานที่ดิน
                                         จังหวัด เทศบาลต าบล กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางน ้าและพาณิชยนาวี องค์การบริหาร
                                                      ่
                                         ส่วนต าบล กรมปาไม้ บริษัท
                                             ั
                                     ประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้แก่การความขัดแย้งในเรื่องที่อยู่อาศัย ที่ท ากิน และกรรมสิทธิ์ที่ดิน
                   รวม 42 กรณี





                                                              55
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76