Page 67 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 67

ั
                                                                                ั
                                                   ่
                   3) ปญหาน ้าท่วมที่อยู่อาศัย ที่ดินท ากิน ปาไม้ ทรัพยากรธรรมชาติ 1 กรณี 4) ปญหาการละเมิดสิทธิในการท ามาหา
                   กิน ที่ดินท ากิน 2 กรณี
                                                                                                        ั
                                                                    ั่
                                 คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหา
                                                                                                 ั
                   ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเอาไว้ทั้งหมด 4 แนวทาง คือ 1) ให้ยุติโครงการ1 กรณี  2) ให้แก้ไขปญหาความ
                   เดือดร้อน เช่น ให้ฟื้นฟูระบบนิเวศแหล่งน ้า  5 กรณี 3) ให้ยุติการตรวจสอบ ตามมาตรา 22 1 กรณี และ 4) ให้ยุติการ
                   ตรวจสอบจากเหตุผลอื่น ๆ เช่น หน่วยงานผู้ถูกร้องขอชะลอการก่อสร้างโครงการออกไปก่อน 8 กรณี
                                 การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ พบว่า ไม่มีการสนองตอบหรือไม่สามารถแก้ไขได้เลย 2 กรณี มี
                                                                                        ั
                                                                    ั
                   การชะลอการด าเนินการ 2 กรณี มีการตรวจสอบและบรรเทาปญหา 3 กรณี มีการแก้ไขปญหาอย่างดี 4 กรณี และ
                   ไม่สามารถติดตามผลได้ 3 กรณี

                                 การจัดการน ้า สร้างความขัดแย้งในการแย่งชิงน ้า รวมถึงการไม่สามารถเข้าถึงทรัพยากรน ้า
                   ส าหรับประชาชนผู้ด้อยโอกาส
                                                             ้ ่
                                       ผู้ถูกร้อง ได้แก่ การไฟฟาฝายผลิตแห่งประเทศไทย ส านักงานนโยบายและแผน
                                         ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รัฐบาล กรมชลประทาน จังหวัดกระบี่
                                                                     ้ ่
                                       หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การไฟฟาฝายผลิตแห่งประเทศไทย ส านักงานนโยบายและ
                                                                                                   ้
                                         แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัด รัฐบาล คณะกรรมการปองกันและ
                                         ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรมชลประทาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมควบคุม
                                         มลพิษ กรมทรัพยากรน ้า  องค์การบริหารส่วนต าบล
                                                                                             ั
                                                         ั
                                 สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้อย่างน้อย 2 ประเด็น คือ 1) ปญหาผลกระทบต่อ
                                                                               ั
                                                           ั
                   สิ่งแวดล้อม นิเวศ วัฒนธรรม วิถีชีวิต ตลอดจนภูมิปญญาท้องถิ่น 8 กรณี 2) ปญหาการแย่งชิงน ้า 4 กรณี
                                                                                                        ั
                                                                    ั่
                                 คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหา
                                                                              ั
                   ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเอาไว้ทั้งหมด 2 แนวทาง คือ 1) ให้แก้ไขปญหาความเดือดร้อน เช่น ให้รัฐบาล
                   ด าเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี 5 กรณี 2) ยุติการตรวจสอบจากเหตุผลอื่นๆ  เช่น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
                   แห่งชาติได้มีข้อเสนอเชิงนโยบายต่อกรณีนั้นๆ ไปแล้ว   7 กรณี
                                 การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ พบว่า ไม่มีการสนองตอบหรือไม่สามารถแก้ไขได้เลย 1 กรณี มี
                                                                                        ั
                                                                    ั
                   การชะลอการด าเนินการ 2 กรณี มีการตรวจสอบและบรรเทาปญหา 3 กรณี มีการแก้ไขปญหาอย่างดี 1 กรณี และ
                   ไม่สามารถติดตามผลได้ 4 กรณี






























                                                              51
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72