Page 76 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 76
ผู้ถูกร้อง ได้แก่ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ องค์การบริหารส่วนต าบล บริษัท
ส านักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
่
กรมปาไม้ จังหวัด กรมศิลปากร กระทรวงมหาดไทย ส านักงานต ารวจแห่งชาติ ส านักงาน
ทรัพยากรธรณีจังหวัด
ั
สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้อย่างน้อย 2 ประเด็น คือ 1) ผลกระทบมลพิษและ
ั
แรงสั่นสะเทือน 11 กรณี 2) ปญหาผลกระทบต่อทรัพยากรอื่นๆ 16 กรณี
ั่
ั
คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหา
ั
ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเอาไว้ทั้งหมด 4 แนวทาง คือ 1) ให้ยุติโครงการ16 กรณี 2) ให้แก้ไขปญหาความ
เดือดร้อน เช่น ขอให้จ่ายค่าชดเชยต่อผู้ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการ ขอให้ปฏิบัติตามเงื่อนไขท้าย
ใบอนุญาตท าเหมือง ขอให้หน่วยงานเอาผิดด าเนินคดีกับเจ้าของโครงการ 9 กรณี 3) ให้ยุติการตรวจสอบ ตามมาตรา
22 1 กรณี และ 4) ให้ยุติการตรวจสอบจากเหตุผลอื่น ๆ 1 กรณี
การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ พบว่า ไม่ มีการชะลอการด าเนินการ 12 กรณี มีการตรวจสอบ
ั
ั
และบรรเทาปญหา 8 กรณี มีการแก้ไขปญหาอย่างดี 5 กรณี และไม่สามารถติดตามผลได้ 2 กรณี
เหมืองแร่ มีผลกระทบจากสารเคมีที่เกิดจากการท าเหมืองแร่และแต่งแร่ การรั่วไหลปนเปื้อนของ
แร่ ก่อให้เกิดมลพิษในแหล่งน ้าและพื้นดิน
้ ่
ผู้ถูกร้อง ได้แก่ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ การไฟฟาฝายผลิตแห่งประเทศ
ไทย ส านักงานอุตสาหกรรมจังหวัด บริษัท
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส านักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร กรมควบคุมมลพิษ กรม
อุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัด กรม
่
อนามัย ส านักงานส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา และพรรณพืช กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ั
สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้อย่างน้อย 2 ประเด็น คือ 1) ผลกระทบมลพิษและ
ั
แรงสั่นสะเทือน 9 กรณี 2) ปญหาผลกระทบต่อทรัพยากรอื่นๆ 13 กรณี
ั่
ั
คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหา
ั
ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเอาไว้ทั้งหมด 2 แนวทาง คือ 1) ให้ยุติโครงการ 6 กรณี 2) ให้แก้ไขปญหาความ
เดือดร้อน เช่น ขอให้จ่ายค่าชดเชยต่อผู้ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการ ขอให้ปฏิบัติตามเงื่อนไขท้าย
ใบอนุญาตท าเหมือง ขอให้ด าเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ขอให้หน่วยงานเอาผิดด าเนินคดีกับเจ้าของโครงการ 13
กรณี 3) ให้ยุติการตรวจสอบจากเหตุผลอื่น ๆ เช่น หน่วยงานผู้ถูกร้องขอชะลอการก่อสร้างโครงการออกไปก่อน ผู้
ร้องขอถอนเรื่องร้องเรียนซึ่งทราบภายหลังว่าเกิดจากการเกรงกลัวอิทธิพล 2 กรณี
การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ พบว่า ไม่มีการสนองตอบหรือไม่สามารถแก้ไขได้เลย 3 กรณี มี
ั
ั
การชะลอการด าเนินการ 6 กรณี มีการตรวจสอบและบรรเทาปญหา 10 กรณี มีการแก้ไขปญหาอย่างดี 4 กรณี และ
ไม่สามารถติดตามผลได้ 1 กรณี
สูบและต้มน ้าเกลือ ก่อให้เกิดการแพร่กระจายความเค็มจากน ้าเกลือในน ้าใต้ดิน และผิวดิน
ผู้ถูกร้อง ได้แก่ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมควบคุมมลพิษ กรมทรัพยากรธรณี จังหวัดนครราชสีมา
60