Page 66 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 66

ั
                                                                                                 ั
                                 สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้อย่างน้อย 4 ประเด็น คือ 1) ปญหาการจ่าย
                                    ั
                                                                                          ั
                   ค่าชดเชย 7 กรณี 2) ปญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม นิเวศ วัฒนธรรม วิถีชีวิต ตลอดจนภูมิปญญาท้องถิ่น 16 กรณี
                       ั
                                                   ่
                                                                                  ั
                   3) ปญหาน ้าท่วมที่อยู่อาศัย ที่ดินท ากิน ปาไม้ ทรัพยากรธรรมชาติ 16 กรณี 4) ปญหาการละเมิดสิทธิในการท ามา
                   หากิน ที่ดินท ากิน 4 กรณี
                                                                    ั่
                                                                                                        ั
                                 คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหา
                                                                                                 ั
                   ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเอาไว้ทั้งหมด 4 แนวทาง คือ 1) ให้ยุติโครงการ  11 กรณี  2) ให้แก้ไขปญหาความ
                   เดือดร้อน ขอให้จ่ายค่าชดเชยต่อผู้ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการ 13 กรณี 3) ให้ยุติการตรวจสอบ ตาม
                   มาตรา 22 1 กรณี  และ  4) ให้ยุติการตรวจสอบจากเหตุผลอื่น ๆ เช่น หน่วยงานผู้ถูกร้องขอชะลอการก่อสร้าง
                   โครงการออกไปก่อน 3 กรณี
                                 การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ พบว่า ไม่มีการสนองตอบหรือไม่สามารถแก้ไขได้เลย 3 กรณี มี
                                                                                        ั
                                                                    ั
                   การชะลอการด าเนินการ 14 กรณี มีการตรวจสอบและบรรเทาปญหา 6 กรณี มีการแก้ไขปญหาอย่างดี 2 กรณี และ
                   ไม่สามารถติดตามผลได้ 3 กรณี

                                                                                       ั
                                 คลองส่งน ้า เป็นกรณีที่เกิดการละเมิดสิทธิในที่อยู่อาศัยและที่ท ากิน ปญหาการไม่ก าหนด
                                                                               ั
                                                        ั
                   ค่าชดเชย หรือก าหนดค่าชดเชยที่ไม่เป็นธรรม ปญหาการท าลายระบบนิเวศ ปญหามลพิษ
                                       ผู้ถูกร้อง ได้แก่ กรมชลประทาน
                                       หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมชลประทาน ส านักงานนโยบายและแผน
                                         ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                                                                                                 ั
                                                          ั
                                 สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้อย่างน้อย 4 ประเด็น คือ 1) ปญหาการจ่าย
                                                                                         ั
                                    ั
                   ค่าชดเชย 3 กรณี 2) ปญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม นิเวศ วัฒนธรรม วิถีชีวิต ตลอดจนภูมิปญญาท้องถิ่น 3 กรณี 3)
                                                 ่
                     ั
                                                                              ั
                   ปญหาน ้าท่วมที่อยู่อาศัย ที่ดินท ากิน ปาไม้ ทรัพยากรธรรมชาติ 2 กรณี 4) ปญหาการละเมิดสิทธิในการท ามาหากิน
                   ที่ดินท ากิน 1 กรณี
                                                                                                        ั
                                                                    ั่
                                 คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหา
                                                                         ั
                   ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเอาไว้ทั้งหมด 2 แนวทาง คือ 1) ให้แก้ไขปญหาความเดือดร้อนเช่น ผู้ร้องได้รับการแก้ไข
                                                                                                      ั
                     ั
                   ปญหาก่อนที่คณะอนุกรรมการจะตรวจสอบเสร็จ 4 กรณี 2) ให้ยุติการตรวจสอบจากเหตุผลที่ได้มีการแก้ไขปญหาใน
                   ระดับที่น่าพอใจ 1 กรณี
                                 การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ พบว่า ไม่มีการสนองตอบหรือไม่สามารถแก้ไขได้เลย 1 กรณี มี
                                        ั
                   การตรวจสอบและบรรเทาปญหา 3 กรณี และไม่สามารถติดตามผลได้ 1 กรณี

                                 สิ่งก่อสร้างกีดขวางและเปลี่ยนแปลงสภาพทางน ้าและแหล่งน ้า การท าลายระบบนิเวศ และ
                                            ั
                   สิ่งแวดล้อม ละเมิดสิทธิชุมชน ปญหามลพิษ
                                       ผู้ถูกร้อง ได้แก่ รัฐบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน
                                         กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางน ้าและพาณิชยนาวี กรมประมง เทศบาล
                                       หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ รัฐบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรม

                                         ชลประทาน กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางน ้าและพาณิชยนาวี จังหวัด จังหวัด เทศบาล
                                         กรมประมง
                                                          ั
                                                                                                 ั
                                 สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้อย่างน้อย 4 ประเด็น คือ 1) ปญหาการจ่าย
                                                                                          ั
                                    ั
                   ค่าชดเชย 1 กรณี 2) ปญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม นิเวศ วัฒนธรรม วิถีชีวิต ตลอดจนภูมิปญญาท้องถิ่น 13 กรณี



                                                              50
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71