Page 36 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 36

บทที่ 2

                     อ านาจหน้าที่ของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม


                   2.1 ความเป็นมา


                                 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ก่อตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                   พ.ศ.2540 ต่อมา ได้มีการออกพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 ขึ้นบังคับใช้
                   เพื่อก าหนดอ านาจหน้าที่ และวิธีการด าเนินการของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ไว้ตามกฎหมาย
                   ดังกล่าว โดยให้อ านาจคณะกรรมการสิทธิแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อให้เข้ามาช่วยปฏิบัติภารกิจตามอ านาจ
                   หน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                                 ด้วยอ านาจแห่งพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542

                   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ จึงได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการขึ้นเพื่อให้ปฏิบัติภารกิจตามที่
                   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมอบหมาย โดยคณะอนุกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งส่วนหนึ่งนั้น เป็นการ
                                                                     ั
                   แต่งตั้งเพื่อให้มีอ านาจตรวจสอบการละเมิดสิทธิในประเด็นปญหาในฐานทรัพยากร ซึ่งได้มีการแต่งตั้ง
                   คณะอนุกรรมการชุดแรก ในปี 2544 ได้แก่ คณะอนุกรรมการด้านที่ดินและน ้า คณะอนุกรรมการเพื่อ
                                           ั
                   การศึกษาและตรวจสอบกรณีปญหาเหมืองแร่ คณะอนุกรรมการด้านพลังงานและอุตสาหกรรม
                                 ต่อมา ได้มีการปรับปรุงคณะอนุกรรมการ และให้มีการควบรวมคณะอนุกรรมการ ระหว่าง
                                                        ั
                   คณะอนุกรรมการเพื่อศึกษาและตรวจสอบกรณีปญหาเหมืองแร่ และคณะอนุกรรมการด้านที่ดินและน ้า ให้เป็น
                   ชุดเดียวกัน ใช้ชื่อว่า คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้าและแร่ แต่ได้แยกประเด็นเรื่องที่ดินออกไปอยู่อีก
                                                                   ่
                   คณะหนึ่ง คือ คณะอนุกรรมการสิทธิในการจัดการที่ดินและปา เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2547 อีกทั้งได้
                                                                                                  ั่
                   แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพิ่มขึ้นอีก 1 คณะ คือ คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรทางทะเลและชายฝง เมื่อ
                   วันที่ 18 พฤศจิกายน 2547

                                 ต่อมา ได้มีการควบรวมระหว่างคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้าและแร่ และ
                                                              ั่
                   คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ให้เป็นชุดเดียวกัน โดยใช้ชื่อว่า คณะอนุกรรมการ
                                        ั่
                   สิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง และแร่ เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2549
                                                                                            ั่
                                 ต่อมา ได้มีการควบรวมระหว่าง คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง และแร่ และ
                   คณะอนุกรรมการด้านพลังงานและอุตสาหกรรม ให้เป็นชุดเดียวกัน โดยใช้ชื่อว่า คณะอนุกรรมการสิทธิใน
                                   ั่
                   ทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2550 ได้ด าเนินการพิจารณาตรวจสอบการ
                                                           ั่
                   ร้องเรียนกรณีการละเมิดสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการตรวจสอบเกี่ยวกับการ
                                               ั
                   ละเมิดสิทธิในฐานทรัพยากร จนถึงปจจุบัน


                   2.2 อ านาจ หน้าที่


                                 2.2.1 อ านาจหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540
                                 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 ได้ก าหนดอ านาจหน้าที่ของ

                   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนไว้ใน มาตรา 200 (1)
                   โดยก าหนดให้มีอ านาจตรวจสอบและรายงานการกระท าหรือการละเลยการกระท าอันเป็นการละเมิดสิทธิ
                   มนุษยชน หรือกรณีที่ไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี




                                                            20
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41