Page 19 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 19
ั
ให้เกิดการแก้ไขปญหาในกรณีที่ผู้ประกอบการมีการกระท าผิดเงื่อนไขการอนุญาตได้ และในหลายกรณีอาจ
ั
ต้องใช้บทบาทการตรวจสอบของคณะอนุกรรมการเพื่อประสานการร่วมมือในการแก้ไขปญหาร่วมกันของ
ั
ั
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายหน่วยงานจึงแก้ปญหาได้ แต่ในขณะเดียวกันก็มีกรณีปญหาจ านวนมากที่เป็น
ั
ปญหาจากฐานคิดดั้งเดิมของรัฐที่มุ่งเอื้อประโยชน์ต่อผู้ประกอบการและโครงการของรัฐเพียงด้านเดียว แต่
ั
ขาดการค านึงถึงมาตรการแก้ไขปญหาและชดเชยต่อผู้เสียหายอย่างเพียงพอ ในกรณีเช่นนี้บทบาทการ
ั
ตรวจสอบของคณะอนุกรรมการฯ มักไม่สามารถแก้ไขปญหาได้มากนัก
แต่อย่างไรก็ตาม ปรากฏการณ์ที่ว่านับเป็นเรื่องที่เป็นจุดเริ่มของการเรียนรู้ในด้านสิทธิของ
ชุมชนและบุคคลในด้านฐานทรัพยากร อันเป็นระยะเริ่มต้นการก้าวสู่กระบวนการคุ้มครองสิทธิของประชาชน
ของประเทศไทย และการจัดท ารายงานตรวจสอบกรณีร้องเรียนที่ได้รวบรวม บันทึกข้อมูล และวินิจฉัยการ
ละเมิดสิทธิตลอดจนการเสนอแนะมาตรการแก้ไข ของคณะอนุกรรมการก็นับเป็นโอกาสอันดีที่เป็นการเริ่ม
รวบรวมองค์ความรู้และวิเคราะห์ข้อเด่นข้อด้อยของการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยผ่าน
มุมมองเชิงสิทธิมนุษยชน
ในช่วงเวลาที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนใกล้หมดวาระ คณะอนุกรรมการสิทธิใน
ั่
ทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม จึงมีความเห็นว่า หากองค์ความรู้และประสบการณ์จากการจัดท า
รายงานการตรวจสอบตลอดกว่า 5 ปีที่ผ่านมา จะได้ถูกรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบไว้อย่างเป็นระบบ
ั่
แล้ว อาจจะท าให้กระบวนการท างานในการคุ้มครองสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ใน
ั
้
อนาคตจะได้มีแนวทางพัฒนาต่อยอดเพื่อให้สามารถบรรลุถึงกลไกที่ดีขึ้นกับการปกปองและแก้ไขปญหาให้
ชุมชนต่อไปได้ คณะอนุกรรมการจึงได้มอบหมายให้คณะผู้จัดท าได้ด าเนินการรวบรวมและวิเคราะห์
ั่
เปรียบเทียบรายงานการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง
แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้พิจารณาออกรายงานแล้ว ทั้งที่ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติแล้ว และทั้งที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เพื่อให้เห็นถึง
ั่
สถานการณ์การละเมิดสิทธิในประเทศไทยเกี่ยวกับฐานทรัพยากร ด้านน ้า ชายฝง แร่ พลังงาน อุตสาหกรรม
และสิ่งแวดล้อม เห็นถึงขั้นตอนการตรวจสอบของคณะอนุกรรมการ การพิจารณาให้ความเห็นต่อกรณีต่างๆ
ของคณะอนุกรรมการว่า ได้มีการน าหลักเกณฑ์ใดมาใช้ประกอบการพิจารณา และให้เห็นถึงข้อเสนอแนะและ
ั
แนวทางการแก้ไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนดังกล่าว ให้เห็นเป็นภาพรวม
1.3 วัตถุประสงค์
1) เพื่อสรุปรวบรวมผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนกรณีสิทธิใน
ทรัพยากรน ้า ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม อย่างเป็นระบบ มีเนื้อหากระชับ แผนที่อย่างเป็นระบบให้
ั
สามารถสืบค้นข้อมูล ตลอดจนน าองค์ความรู้และประสบการณ์การตรวจสอบไปปรับปรุงการแก้ไขปญหาทั้ง
จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรด้านสิทธิ สถาบันทางวิชาการ และประชาชนทั่วไป
2) เพื่อวิเคราะห์ผลการตรวจสอบ มาตรการและผลลัพธ์ในการแก้ไขปัญหา
ตลอดจนวิธีการและกฎหมายที่เกี่ยวข้องเปรียบเทียบระหว่างกรณีต่างๆว่า มีประสิทธิภาพและ
ข้อบกพร่องอย่างไร และก าหนดข้อเสนอเชิงนโยบายต่อรัฐบาลและองค์กรนิติบัญญัติต่อไป
1.4 ขอบเขตการศึกษา
ั่
1) น ารายงานการตรวจสอบของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่
และสิ่งแวดล้อม เฉพาะที่ได้ร้องเรียนในช่วงเวลาก่อนและระหว่างการจัดท าโครงการทั้งหมด นับแต่ปีพ.ศ.
3