Page 97 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 97
ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการป้องกันหรือ ข้อเสนอแนะในการแก้ไข ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ
แก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือค�าสั่ง 1
(๑) ผู้ถูกร้องที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๔ ที่ ๕ และที่ ๖ ควรพิจารณา คณะรัฐมนตรีควรด�าเนินการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย
ยกเลิกเงื่อนไขการตรวจหาเชื้อเอชไอวี ก่อนรับเข้าท�างาน กฎ ระเบียบ หรือค�าสั่งใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครอง 2
ในทุกต�าแหน่ง และด�าเนินการตามแนวปฏิบัติแห่งชาติ แรงงานในภาคเอกชน ให้ครอบคลุมไปถึงการคุ้มครอง
ว่าด้วยการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ใน สิทธิของผู้ติดเชื้อเอชไอวีในโลกแห่งการท�างาน ไม่ว่าจะเป็น 3
สถานที่ท�างาน ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง แนวทาง ผู้แสวงหางานท�าที่ยังมิได้อยู่ในฐานะลูกจ้าง และผู้ที่มี
การป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ และวัณโรคใน ฐานะเป็นลูกจ้างตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานและ
สถานประกอบกิจการ ลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ กฎหมายอื่น ตั้งแต่กระบวนการพิจารณารับเข้าท�างาน 4
รวมทั้งการจัดท�ามาตรฐานการบริหารจัดการเอดส์ การก�าหนดเงื่อนไขในการจ้างงาน การเลื่อนต�าแหน่ง
ในสถานประกอบการ ( AIDS - response Standard และการสิ้นสุดการจ้าง เพื่อให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวีมีสิทธิและ 5
Organization : ASO Thailand) ส่วนผู้ถูกร้องที่ ๓ โอกาสเท่าเทียมกับบุคคลอื่น โดยควรน�าเอาแนวปฏิบัติ
ควรควบคุมดูแลไม่ให้ผู้รับจ้างด�าเนินการคัดเลือกพนักงาน ระหว่างประเทศว่าด้วยเชื้อเอชไอวี/เอดส์กับสิทธิมนุษยชน
เข้าท�างานด้วยวิธีการใดอันเป็นการเลือกปฏิบัติต่อ (International Guidelines on HIV/AIDS and Human
ผู้ติดเชื้อเอชไอวีหรือโรคเอดส์ Rights) ในส่วนที่เกี่ยวข้องมาเป็นแนวทางในการด�าเนินการ
ทั้งนี้ ควรมีการจัดตั้งกลไกการคุ้มครองและตรวจสอบ
(๒) กระทรวงสาธารณสุขควรบังคับใช้กฎหมาย การเลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวีในโลกแห่งการท�างาน
เพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้ติดเชื้อเอชไอวี ได้แก่ การใช้กลไก เพื่อท�าหน้าที่รับเรื่องร้องเรียน ตรวจสอบ และด�าเนินการ
ตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ และ ให้มีการเยียวยาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ถูกเลือกปฏิบัติ อันจะท�าให้
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๔๒) เรื่อง เกิดการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองสิทธิผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล การบริการอื่น อย่างมีประสิทธิภาพ
ของสถานพยาบาล และสิทธิของ ผู้ป่วยซึ่งผู้รับอนุญาตจะต้อง
แสดงตามมาตรา ๓๒ (๓) กับสถานบริการทางการแพทย์ ผลส�าเร็จ/ความก้าวหน้าในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ที่มีบริการตรวจหาเชื้อเอชไอวีและเปิดเผยผลการตรวจ (๑) บริษัทเอกชนแห่งหนึ่งแจ้งว่าได้ยกเลิกการตรวจหา
ต่อบุคคลอื่น ไม่ว่าจะโดยสมัครใจหรือไม่ รวมถึง เชื้อเอชไอวีก่อนรับพนักงานเข้าท�างาน ทุกต�าแหน่งของบริษัท
การด�าเนินการให้มีมาตรการเชิงลงโทษต่อสถานพยาบาล มีผลนับตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๒ เป็นต้นไป
ที่ฝ่าฝืนบทบัญญัติดังกล่าวอย่างเคร่งครัด ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
(๒) รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) สั่งและ
ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ ปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรีได้มอบหมายให้
คุ้มครองสิทธิมนุษยชน กระทรวงแรงงานเป็นหน่วยงานหลักรับเรื่องนี้ไปพิจารณา
กระทรวงแรงงาน และกรมสวัสดิการและคุ้มครอง ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข ส�านักงานคณะกรรมการ
แรงงาน ควรเร่งด�าเนินการให้ สถานประกอบกิจการ กฤษฎีกาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อศึกษาแนวทางและ
เอกชนด�าเนินการตามแนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วยการ ความเหมาะสมของข้อเสนอแนะดังกล่าว โดยให้กระทรวง
ป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ ในสถานที่ท�างาน แรงงานสรุปผลการพิจารณาผลการด�าเนินการดังกล่าว
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง แนวทางการป้องกันและ ในภาพรวมแล้ว ส่งให้ส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
บริหารจัดการด้านเอดส์และวัณโรค ในสถานประกอบ ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งค�าสั่งเพื่อน�าเสนอ
กิจการ ลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คณะรัฐมนตรีต่อไป
ในส่วนที่เรียกร้องให้มีการยกเลิกการตรวจหาเชื้อเอชไอวี
ก่อนรับเข้าท�างาน รวมถึงการจัดท�ามาตรฐานการบริหาร ต่อมา กระทรวงแรงงานโดยกรมสวัสดิการและคุ้มครอง
จัดการเอดส์ในสถานประกอบการ (AIDS-response แรงงานได้จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อหารือการก�าหนด
Standard Organization : ASO Thailand) ให้เกิดผล แนวทางการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
เป็นรูปธรรมโดยเร็ว
95